ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"
ล r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: ar:روماجي |
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ 124.122.42.97 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย Missing Google Translated Guy ด้วยสจห. ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
(ไม่แสดง 45 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 23 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ต้องการอ้างอิง}} |
{{ต้องการอ้างอิง}} |
||
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}} |
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}} |
||
'''โรมาจิ''' ({{ญี่ปุ่น|ローマ字|Rōmaji||{{IPA-ja|ɾoːma(d)ʑi||Ja-Romaji.oga}} หรือ {{IPA-ja|ɾoːmaꜜ(d)ʑi|}}, {{Lit|อักษรโรมัน}}|lead=yes}}) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 訓令式 โรมาจิ: ''Kunrei-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: คุนเรชิกิ) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ヘボン式 โรมาจิ: ''Hebon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: เฮบงชิกิ) '''ระบบนิฮง''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本式 โรมาจิ: ''Nihon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: นิฮงชิกิ) เป็นต้น |
|||
'''โรมะจิ''' ({{ญี่ปุ่น| ローマ字}}) , เขียนแบบโรมะจิ: Rōmaji) เป็น[[อักษรโรมัน]]หรืออักษรภาษาอังกฤษที่ใช้ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]] ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ [[คะนะ]]และ[[คันจิ]]เป็นหลัก ซึ่งโรมะจินี้เป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่คนญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บน[[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]]เป็นโรมะจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่างๆ |
|||
ในปี ค.ศ. 1954 ([[ยุคโชวะ|ปีโชวะ]]ที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: ''Rōmaji no tsuzurikata'') ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref> |
|||
นอกจากนี้ ใน "'''แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา'''" ({{Nihongo|小学校学習指導要領|Shōgakkō gakushū shidō yōryō}}) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 (ปี[[เฮเซ]]ที่ 29) ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดภาษาญี่ปุ่นเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย<ref>{{Cite web|date=|title=小学校学習指導要領解説:文部科学省:【国語編】小学校学習指導要領(平成29年告示)解説|url=https://www.mext.go.jp/a_menu/shotou/new-cs/1387014.htm|url-status=live|access-date=2021-10-28|website=文部科学省ホームページ|language=ja}}</ref> อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์<ref>{{Cite book|last=Iwata|first=Kazunari|url=https://www.worldcat.org/oclc/1160201927|title=Meikai Nihongogaku jiten|last2=岩田一成|date=|others=Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷|year=2018|isbn=978-4-385-13580-9|location=Tōkyō|pages=164|language=ja|chapter=ローマ字 (the Roman alphabet)|oclc=1160201927}}</ref> |
|||
โรมะจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัย[[สงครามโลก]] ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับ[[ประถมศึกษา]] สำหรับการเขียนและการอ่านโรมะจิ |
|||
== อักขรวิธี == |
|||
โรมะจิใช้สำหรับ[[การเขียนคำทับศัพท์]]ภาษาอังกฤษ ซึ่งโรมะจิในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ [[นิฮงชิกิ]] (日本式) แบบดั้งเดิม, [[คุงเรชิกิ]] (訓令式) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และ [[เฮ็ปเบิร์น]] หรือ เฮะบงชิกิ (ヘボン式) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน |
|||
=== สระ === |
|||
เสียงสระ「ア、イ、ウ、エ、オ」เขียนเป็น "a, i, u, e, o" ตามลำดับ |
|||
=== พยัญชนะและเสียงควบกล้ำ === |
|||
โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะของอักษรวรรค 「カ、サ、タ、ナ、ハ、マ、ヤ、ラ、ワ、ガ、ザ、ダ、バ、パ」ให้เขียนเป็น "k, s, t, n, h, m, y, r, w, g, z, d, b, p" ตามลำดับ ส่วนเสียงควบกล้ำให้เขียนเป็น "พยัญชนะ+y+สระ" เช่น 「キャ」→ "kya" |
|||
ระบบเฮ็ปเบิร์นและระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทน「シ」ด้วย "shi" แทน「チ」ด้วย "chi" แทน「ツ」ด้วย "tsu" แทน「フ」ด้วย "fu" แทน「ジ」ด้วย "ji" เสียงควบกล้ำของวรรค「サ」แทนด้วย "sh-" ทั้งหมด เสียงควบกล้ำของวรรค「タ」แทนด้วย "ch-" ทั้งหมด และเสียงควบกล้ำของวรรค「ザ」แทนด้วย "j-" ทั้งหมด เนื่องจากคำนึงถึงความใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษซึ่งเป็น[[ภาษาแม่]]ของ[[เจมส์ เคอร์ทิส เฮ็ปเบิร์น]] (James Curtis Hepburn) |
|||
ระบบนิฮงแทน「ヂ」「ヅ」「ヲ」ด้วย "di" "du" "wo" อิงตาม[[อักขรวิธี]]โบราณ แต่เนื่องจากใน[[ภาษากลาง]] ([[ภาษาโตเกียว]]) ไม่ได้แยกความต่างระหว่าง「ヂ」กับ「ジ」, 「ヅ」กับ「ズ」และ「ヲ」กับ「オ」อีกต่อไป ระบบคุนเรจึงใช้ "zi" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 เช่นเดียวกับระบบเฮ็ปเบิร์นที่ให้ "ji" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 |
|||
=== พยัญชนะท้ายนาสิก === |
|||
โดยหลักการแล้ว [[ภาษาญี่ปุ่น#เสียงพยัญชนะท้ายนาสิก_/N/|เสียงพยัญชนะท้ายนาสิก]]ให้เขียนเป็น "n" ยกเว้นเฉพาะระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมที่กำหนดให้เขียนเป็น "m" เมื่ออยู่หน้าอักษร "b, p, m" |
|||
หากหลัง「ん」เป็นสระหรืออักษรวรรค「ヤ」ในระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมจะเติมเครื่องหมาย[[ยัติภังค์]] ส่วนระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงจะเติมเครื่องหมาย[[อะพอสทรอฟี]] เพื่อป้องกันความสับสนที่จะอ่านเป็นอักษรวรรค「ナ」 |
|||
ตัวอย่าง: shin-ai หรือ shin'ai({{Ruby-ja|親愛|しんあい}}) ≠ shinai({{Ruby-ja|市内|しない}}), shin-yō หรือ shin'yō({{Ruby-ja|信用|しんよう}}) ≠ shinyō({{Ruby-ja|屎尿|しにょう}}) |
|||
=== พยัญชนะซ้ำ === |
|||
โดยหลักการแล้ว ให้ซ้ำพยัญชนะที่อยู่ก่อนหน้า[[ภาษาญี่ปุ่น#เสียงพยัญชนะซ้ำ_/Q/|เสียงพยัญชนะซ้ำ]] มีข้อยกเว้นเฉพาะในระบบเฮ็ปเบิร์น (ทั้งแบบเก่าและฉบับปรับปรุง) ที่ให้ให้ "t" เมื่อตามด้วย "ch" เช่น "ma<u>tc</u>ha" สำหรับเสียงพยัญชนะซ้ำกรณีที่ปรากฏท้ายคำ เช่น「あっ」「それっ」ไม่มีระบบใดที่กำหนดวิธีเขียนไว้ |
|||
=== เสียงยาว === |
|||
* ระบบคุนเรเติมเครื่องหมาย[[เซอร์คัมเฟล็กซ์]]บนสระ "'''â, î, û, ê, ô'''" เพื่อแสดงเสียงสระยาว เช่น Tôkyô({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) |
|||
* ระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมแทนเสียงสระยาวของ "a, i, u, e, o" ด้วย "'''aa, ii, ū, ee, ō'''" ตามลำดับ และระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทนด้วย "'''ā, ii, ū, ē, ō'''" ตามลำดับ เช่น Tōkyō({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) |
|||
* ไม่ปรากฏการใช้สัญลักษณ์พิเศษแสดงเสียงยาวในระบบนิฮง |
|||
* ในการใช้งานจริง บางครั้งอาจจะละสัญลักษณ์แสดงเสียงยาวไป เช่น Tokyo({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) และบางครั้งอาจพบการใช้อักษร "h" ในการแสดงเสียงยาวของ /o/ เช่น Ohno({{Ruby-ja|大野|おおの}}) |
|||
=== คำช่วย === |
|||
คำช่วย「は」「へ」「を」 ทั้งระบบคุนเรและระบบเฮ็ปเบิร์นเขียนด้วย「わ (wa)」「え (e)」「お (o)」ตามลำดับ แต่อาจพบการเขียนเป็น「は (ha)」「へ (he)」「を (wo)」ได้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการสะท้อนรูปเขียนของอักษรคานะ |
|||
==ระบบปัจจุบัน== |
|||
===เฮ็ปเบิร์น=== |
|||
โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์น จะออกเสียงสระตาม[[กลุ่มภาษาโรมานซ์]] เป็นวิธีแสดงการสะกดคำในภาษาญี่ปุ่นอย่างเป็นธรรมชาติ และเคยเป็นมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา แต่ถูกยกเลิก ณ วันที่ ๖ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๔ โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นเป็นที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน |
|||
โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นฉบับแก้ไข ใช้ขีดข้างบนสระเพื่อแสดงสระเสียงยาว และใช้เครื่องหมาย[[อะพอสทรอฟี]]เพื่อแบ่งพยางค์ในบางกรณี เช่น じゅんいちろう-''Jun'ichirō'' ระบบนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเรียนต่างชาติและในทางวิชาการ |
|||
===นิฮงชิกิ=== |
|||
โรมาจิแบบนิฮงชิกิ ออกแบบมาเพื่อให้[[ชาวญี่ปุ่น|คนญี่ปุ่น]]เขียนภาษาของตนด้วย[[อักษรละติน]] แทนการถ่ายเสียงตามแบบเฮ็ปเบิร์น ระบบนี้ตามระบบอักษรญี่ปุ่นอย่างเคร่งครัด ไม่เปลี่ยนตามวิธีออกเสียง ระบบนี้เป็นมาตรฐาน [[ISO 3602 Strict]] |
|||
===คุงเรชิกิ=== |
|||
โรมาจิแบบคุงเรชิกิ เป็นการดัดแปลงเล็กน้อยจากโรมาจิแบบนิฮงชิกิ โดยอักษร づ กับ ず ออกเสียง ''zu'' เหมือนกันในภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ ในทางกลับกัน นิฮงชิกิจะเขียน づ เป็น ''du'' และเขียน ず เป็น ''zu'' |
|||
คุงเรชิกิเป็นมาตรฐานของทางการญี่ปุ่น และเป็นมาตรฐาน [[ISO 3602]] |
|||
คุงเรชิกิจะสอนที่โรงเรียนญี่ปุ่นในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ |
|||
==ตัวอย่าง== |
|||
<br clear="all"> |
<br clear="all"> |
||
'''ตัวอย่างของการ |
'''ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง ๆ''' |
||
{| border="0" width="100%" |
{| border="0" width="100%" |
||
|-bgcolor="#BECFEB" valign="top" align="center" |
|-bgcolor="#BECFEB" valign="top" align="center" |
||
!rowspan="2"|ความหมาย |
!rowspan="2"|ความหมาย |
||
!rowspan="2"|[[คันจิ]]/[[ |
!rowspan="2"|[[คันจิ]]/[[คานะ]] |
||
!rowspan="2"|[[ |
!rowspan="2"|[[ฟูริงานะ]] |
||
!colspan="3"|'''โร |
!colspan="3"|'''โรมาจิ''' |
||
|- bgcolor="#BECFEB" valign="top" align="center" |
|- bgcolor="#BECFEB" valign="top" align="center" |
||
![[เฮ็ปเบิร์น]] |
![[เฮ็ปเบิร์น]] |
||
บรรทัด 20: | บรรทัด 66: | ||
![[นิฮงชิกิ]] |
![[นิฮงชิกิ]] |
||
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
||
|'''โร |
|'''โรมาจิ''' ||ローマ字 ||ローマじ ||''rōmaji'' ||''rômazi'' ||''rōmazi'' |
||
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
||
|[[ภูเขาฟูจิ]] |||富士山|||ふじさん|||''Fujisan''|||''Huzisan''|||''Huzisan'' |
|[[ภูเขาฟูจิ]] |||富士山|||ふじさん|||''Fujisan''|||''Huzisan''|||''Huzisan'' |
||
บรรทัด 31: | บรรทัด 77: | ||
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
|- bgcolor="#E7F5DE" valign="top" align="center" |
||
|(ตอน) ต่อไป ||続く ||つづく ||''tsuzuku'' ||''tuzuku'' ||''tuduku'' |
|(ตอน) ต่อไป ||続く ||つづく ||''tsuzuku'' ||''tuzuku'' ||''tuduku'' |
||
|} |
|||
==ความแตกต่างระหว่างระบบต่างๆ== |
|||
{| class="wikitable" style="text-align: center;" |
|||
! [[ฮิรางานะ]] !! [[คาตากานะ]] !!เฮปเบิร์น !! นิฮงชิกิ !! คุงเรชิกิ || [[สัทอักษรสากล|สากล]] |
|||
|- |
|||
| あ || ア || colspan=4 | a |
|||
|- |
|||
| い || イ || colspan=4 | i |
|||
|- |
|||
| う || ウ || colspan=3 | u || ɯ |
|||
|- |
|||
| え || エ || colspan=4 | e |
|||
|- |
|||
| お || オ || colspan=4 | o |
|||
|- |
|||
| か || カ || colspan=4 | ka |
|||
|- |
|||
| き || キ || colspan=3 | ki || kʲi |
|||
|- |
|||
| く || ク || colspan=3 | ku || kɯ |
|||
|- |
|||
| け || ケ || colspan=4 | ke |
|||
|- |
|||
| こ || コ || colspan=4 | ko |
|||
|- |
|||
| きゃ || キャ || colspan=3 | kya || kʲa |
|||
|- |
|||
| きゅ || キュ || colspan=3 | kyu || kʲɯ |
|||
|- |
|||
| きょ || キョ || colspan=3 | kyo || kʲo |
|||
|- |
|||
| さ || サ || colspan=4 | sa |
|||
|- |
|||
| し || シ || shi || colspan=2 | si || ɕi |
|||
|- |
|||
| す || ス || colspan=3 | su || sɯ |
|||
|- |
|||
| せ || セ || colspan=4 | se |
|||
|- |
|||
| そ || ソ || colspan=4 | so |
|||
|- |
|||
| しゃ || シャ || sha || colspan=2 | sya || ɕa |
|||
|- |
|||
| しゅ || シュ || shu || colspan=2 | syu || ɕɯ |
|||
|- |
|||
| しょ || ショ || sho || colspan=2 | syo || ɕo |
|||
|- |
|||
| た || タ || colspan=4 | ta |
|||
|- |
|||
| ち || チ || chi || colspan=2 | ti || tɕi |
|||
|- |
|||
| つ || ツ || tsu || colspan=2 | tu || tsɯ |
|||
|- |
|||
| て || テ || colspan=4 | te |
|||
|- |
|||
| と || ト || colspan=4 | to |
|||
|- |
|||
| ちゃ || チャ || cha || colspan=2 | tya || tɕa |
|||
|- |
|||
| ちゅ || チュ || chu || colspan=2 | tyu || tɕɯ |
|||
|- |
|||
| ちょ || チョ || cho || colspan=2 | tyo || tɕo |
|||
|- |
|||
| な || ナ || colspan=4 | na |
|||
|- |
|||
| に || ニ || colspan=3 | ni || ɲi |
|||
|- |
|||
| ぬ || ヌ || colspan=3 | nu || nɯ |
|||
|- |
|||
| ね || ネ || colspan=4 | ne |
|||
|- |
|||
| の || ノ || colspan=4 | no |
|||
|- |
|||
| にゃ || ニャ || colspan=3 | nya || ɲa |
|||
|- |
|||
| にゅ || ニュ || colspan=3 | nyu || ɲɯ |
|||
|- |
|||
| にょ || ニョ || colspan=3 | nyo || ɲo |
|||
|- |
|||
| は || ハ || colspan=4 | ha |
|||
|- |
|||
| ひ || ヒ || colspan=3 | hi || çi |
|||
|- |
|||
| ふ || フ || fu || colspan=2 | hu || ɸɯ |
|||
|- |
|||
| へ || ヘ || colspan=4 | he |
|||
|- |
|||
| ほ || ホ || colspan=4 | ho |
|||
|- |
|||
| ひゃ || ヒャ || colspan=3 | hya || ça |
|||
|- |
|||
| ひゅ || ヒュ || colspan=3 | hyu || çɯ |
|||
|- |
|||
| ひょ || ヒョ || colspan=3 | hyo || ço |
|||
|- |
|||
| ま || マ || colspan=4 | ma |
|||
|- |
|||
| み || ミ || colspan=3 | mi || mʲi |
|||
|- |
|||
| む || ム || colspan=3 | mu || mɯ |
|||
|- |
|||
| め || メ || colspan=4 | me |
|||
|- |
|||
| も || モ || colspan=4 | mo |
|||
|- |
|||
| みゃ || ミャ || colspan=3 | mya || mʲa |
|||
|- |
|||
| みゅ || ミュ || colspan=3 | myu || mʲɯ |
|||
|- |
|||
| みょ || ミョ || colspan=3 | myo || mʲo |
|||
|- |
|||
| や || ヤ || colspan=3 | ya || ja |
|||
|- |
|||
| ゆ || ユ || colspan=3 | yu || jɯ |
|||
|- |
|||
| よ || ヨ || colspan=3 | yo || jo |
|||
|- |
|||
| ら || ラ || colspan=3 | ra || ɾa |
|||
|- |
|||
| り || リ || colspan=3 | ri || ɾʲi |
|||
|- |
|||
| る || ル || colspan=3 | ru || ɾɯ |
|||
|- |
|||
| れ || レ || colspan=3 | re || ɾe |
|||
|- |
|||
| ろ || ロ || colspan=3 | ro || ɾo |
|||
|- |
|||
| りゃ || リャ || colspan=3 | rya || ɾʲa |
|||
|- |
|||
| りゅ || リュ || colspan=3 | ryu || ɾʲu |
|||
|- |
|||
| りょ || リョ || colspan=3 | ryo || ɾʲo |
|||
|- |
|||
| わ || ワ || colspan=3 | wa || wa~ɰa |
|||
|- |
|||
| ゐ || ヰ || i || wi || colspan=2 | i |
|||
|- |
|||
| ゑ || ヱ || e || we || colspan=2 | e |
|||
|- |
|||
| を || ヲ || o || wo || colspan=2 | o |
|||
|- |
|||
| ん || ン || n-n'(-m) || colspan=2 | n-n' || m~n~ŋ~ɴ |
|||
|- |
|||
| が || ガ || colspan=4 | ga |
|||
|- |
|||
| ぎ || ギ || colspan=3 | gi || gʲi |
|||
|- |
|||
| ぐ || グ || colspan=3 | gu || gɯ |
|||
|- |
|||
| げ || ゲ || colspan=4 | ge |
|||
|- |
|||
| ご || ゴ || colspan=4 | go |
|||
|- |
|||
| ぎゃ || ギャ || colspan=3 | gya || gʲa |
|||
|- |
|||
| ぎゅ || ギュ || colspan=3 | gyu || gʲɯ |
|||
|- |
|||
| ぎょ || ギョ || colspan=3 | gyo || gʲo |
|||
|- |
|||
| ざ || ザ || colspan=4 | za |
|||
|- |
|||
| じ || ジ || ji || colspan=2 | zi || ʑi~dʑi |
|||
|- |
|||
| ず || ズ || colspan=3 | zu || zɯ |
|||
|- |
|||
| ぜ || ゼ || colspan=4 | ze |
|||
|- |
|||
| ぞ || ゾ || colspan=4 | zo |
|||
|- |
|||
| じゃ || ジャ || ja || colspan=2 | zya || ʑa~dʑa |
|||
|- |
|||
| じゅ || ジュ || ju || colspan=2 | zyu || ʑɯ~dʑɯ |
|||
|- |
|||
| じょ || ジョ || jo || colspan=2 | zyo || ʑo~dʑo |
|||
|- |
|||
| だ || ダ || colspan=4 | da |
|||
|- |
|||
| ぢ || ヂ || ji || di || zi || ʑi~dʑi |
|||
|- |
|||
| づ || ヅ || zu || du || zu || zɯ |
|||
|- |
|||
| で || デ || colspan=4 | de |
|||
|- |
|||
| ど || ド || colspan=4 | do |
|||
|- |
|||
| ぢゃ || ヂャ || ja || dya || zya || ʑa~dʑa |
|||
|- |
|||
| ぢゅ || ヂュ || ju || dyu || zyu || ʑɯ~dʑɯ |
|||
|- |
|||
| ぢょ || ヂョ || jo || dyo || zyo || ʑo~dʑo |
|||
|- |
|||
| ば || バ || colspan=4 | ba |
|||
|- |
|||
| び || ビ || colspan=3 | bi || bʲi |
|||
|- |
|||
| ぶ || ブ || colspan=3 | bu || bɯ |
|||
|- |
|||
| べ || ベ || colspan=4 | be |
|||
|- |
|||
| ぼ || ボ || colspan=4 | bo |
|||
|- |
|||
| びゃ || ビャ || colspan=3 | bya || bʲa |
|||
|- |
|||
| びゅ || ビュ || colspan=3 | byu || bʲɯ |
|||
|- |
|||
| びょ || ビョ || colspan=3 | byo || bʲo |
|||
|- |
|||
| ぱ || パ || colspan=4 | pa |
|||
|- |
|||
| ぴ || ピ || colspan=3 | pi || pʲi |
|||
|- |
|||
| ぷ || プ || colspan=3 | pu || pɯ |
|||
|- |
|||
| ぺ || ペ || colspan=4 | pe |
|||
|- |
|||
| ぽ || ポ || colspan=4 | po |
|||
|- |
|||
| ぴゃ || ピャ || colspan=3 | pya || pʲa |
|||
|- |
|||
| ぴゅ || ピュ || colspan=3 | pyu || pʲɯ |
|||
|- |
|||
| ぴょ || ピョ || colspan=3 | pyo || pʲo |
|||
|- |
|||
| ゔ || ヴ || colspan=3 | vu || βɯ |
|||
|} |
|||
{| class=wikitable style="text-align: center;" |
|||
! คะนะ !! เฮปเบิร์น !! นิฮงชิกิ !! คุงเรชิกิ |
|||
|- |
|||
| うう || ''ū'' || colspan=2 | ''û'' |
|||
|- |
|||
| おう, おお || ''ō'' || colspan=2 | ''ô'' |
|||
|- |
|||
| し || ''shi'' || colspan=2 | ''si'' |
|||
|- |
|||
| しゃ || ''sha'' || colspan=2 | ''sya'' |
|||
|- |
|||
| しゅ || ''shu'' || colspan=2 | ''syu'' |
|||
|- |
|||
| しょ || ''sho'' || colspan=2 | ''syo'' |
|||
|- |
|||
| じ || ''ji'' || colspan=2 | ''zi'' |
|||
|- |
|||
| じゃ || ''ja'' || colspan=2 | ''zya'' |
|||
|- |
|||
| じゅ || ''ju'' || colspan=2 | ''zyu'' |
|||
|- |
|||
| じょ || ''jo'' || colspan=2 | ''zyo'' |
|||
|- |
|||
| ち || ''chi'' || colspan=2 | ''ti'' |
|||
|- |
|||
| つ || ''tsu'' || colspan=2 | ''tu'' |
|||
|- |
|||
| ちゃ || ''cha'' || colspan=2 | ''tya'' |
|||
|- |
|||
| ちゅ || ''chu'' || colspan=2 | ''tyu'' |
|||
|- |
|||
| ちょ || ''cho'' || colspan=2 | ''tyo'' |
|||
|- |
|||
| ぢ || ''ji'' ||''di'' || ''zi'' |
|||
|- |
|||
| づ || ''zu'' ||''du'' || ''zu'' |
|||
|- |
|||
| ぢゃ || ''ja'' ||''dya'' || ''zya'' |
|||
|- |
|||
| ぢゅ || ''ju'' ||''dyu'' || ''zyu'' |
|||
|- |
|||
| ぢょ || ''jo'' ||''dyo'' || ''zyo'' |
|||
|- |
|||
| ふ || ''fu'' || colspan=2 | ''hu'' |
|||
|- |
|||
| ゐ || ''i'' || ''wi'' || ''i'' |
|||
|- |
|||
| ゑ || ''e'' || ''we'' || ''e'' |
|||
|- |
|||
| を || ''o'' || ''wo'' || ''o'' |
|||
|- |
|||
| ん || ''n'', ''n<nowiki>'</nowiki>'' ( ''m'') || colspan=2 | ''n'' ''n<nowiki>'</nowiki>'' |
|||
|} |
|} |
||
== ดูเพิ่ม == |
== ดูเพิ่ม == |
||
* [[การ |
* [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น]] |
||
== อ้างอิง == |
|||
{{เรียงลำดับ|รโมะจิ}} |
|||
{{รายการอ้างอิง}} |
|||
<!-- ใส่ ร.เรือ นำหน้า สำหรับการจัดหมวดหมู่ --> |
|||
{{โครงภาษา}} |
|||
[[หมวดหมู่:อักษรละติน|ร]] |
|||
[[หมวดหมู่:ภาษาญี่ปุ่น]] |
[[หมวดหมู่:ภาษาญี่ปุ่น]] |
||
[[หมวดหมู่:การ |
[[หมวดหมู่:การถอดเป็นอักษรโรมัน]] |
||
{{โครงภาษา}} |
|||
[[af:Romaji]] |
|||
[[ar:روماجي]] |
|||
[[ca:Romaji]] |
|||
[[cs:Rómadži]] |
|||
[[cy:Rhufeinio'r iaith Japaneg]] |
|||
[[de:Japanische Schrift#Rōmaji]] |
|||
[[el:Ρομάτζι]] |
|||
[[en:Romanization of Japanese]] |
|||
[[eo:Japana lingvo per latinaj literoj]] |
|||
[[es:Rōmaji]] |
|||
[[et:Rōmaji]] |
|||
[[fa:روماجی]] |
|||
[[fi:Rōmaji]] |
|||
[[fr:Rōmaji]] |
|||
[[he:רומאג'י]] |
|||
[[id:Romaji]] |
|||
[[it:Rōmaji]] |
|||
[[ja:ローマ字]] |
|||
[[ko:일본어 로마자 표기법]] |
|||
[[lt:Romadži]] |
|||
[[lv:Japāņu valodas romanizācija]] |
|||
[[nl:Romaji]] |
|||
[[no:Rōmaji]] |
|||
[[pl:Rōmaji]] |
|||
[[pt:Rōmaji]] |
|||
[[ro:Rōmaji]] |
|||
[[ru:Ромадзи]] |
|||
[[simple:Romanization of Japanese]] |
|||
[[sk:Prepis z japonského písma do latinky]] |
|||
[[sr:Ромаџи]] |
|||
[[su:Romanisasi aksara Jepang]] |
|||
[[sv:Romaji]] |
|||
[[tl:Romaji]] |
|||
[[uk:Латинізація японської мови]] |
|||
[[vi:Rōmaji]] |
|||
[[zh:日语罗马字]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:43, 12 สิงหาคม 2567
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
การเขียนภาษาญี่ปุ่น |
---|
องค์ประกอบ |
การใช้งาน |
ถอดอักษรเป็นโรมัน |
โรมาจิ (ญี่ปุ่น: ローマ字; โรมาจิ: Rōmaji; [ɾoːma(d)ʑi] หรือ [ɾoːmaꜜ(d)ʑi], แปลว่า อักษรโรมัน) หมายถึง อักษรโรมัน (อักษรละติน) ที่ใช้แทนอักษรคานะในภาษาญี่ปุ่นตามระบบการถอดเป็นอักษรโรมัน (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ ระบบคุนเร (ญี่ปุ่น: 訓令式 โรมาจิ: Kunrei-shiki ทับศัพท์: คุนเรชิกิ) ระบบเฮ็ปเบิร์น (ญี่ปุ่น: ヘボン式 โรมาจิ: Hebon-shiki ทับศัพท์: เฮบงชิกิ) ระบบนิฮง (ญี่ปุ่น: 日本式 โรมาจิ: Nihon-shiki ทับศัพท์: นิฮงชิกิ) เป็นต้น
ในปี ค.ศ. 1954 (ปีโชวะที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน" (ญี่ปุ่น: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: Rōmaji no tsuzurikata) ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต[1]
นอกจากนี้ ใน "แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา" (ญี่ปุ่น: 小学校学習指導要領; โรมาจิ: Shōgakkō gakushū shidō yōryō) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 (ปีเฮเซที่ 29) ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดภาษาญี่ปุ่นเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย[2] อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์[3]
อักขรวิธี
[แก้]สระ
[แก้]เสียงสระ「ア、イ、ウ、エ、オ」เขียนเป็น "a, i, u, e, o" ตามลำดับ
พยัญชนะและเสียงควบกล้ำ
[แก้]โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะของอักษรวรรค 「カ、サ、タ、ナ、ハ、マ、ヤ、ラ、ワ、ガ、ザ、ダ、バ、パ」ให้เขียนเป็น "k, s, t, n, h, m, y, r, w, g, z, d, b, p" ตามลำดับ ส่วนเสียงควบกล้ำให้เขียนเป็น "พยัญชนะ+y+สระ" เช่น 「キャ」→ "kya"
ระบบเฮ็ปเบิร์นและระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทน「シ」ด้วย "shi" แทน「チ」ด้วย "chi" แทน「ツ」ด้วย "tsu" แทน「フ」ด้วย "fu" แทน「ジ」ด้วย "ji" เสียงควบกล้ำของวรรค「サ」แทนด้วย "sh-" ทั้งหมด เสียงควบกล้ำของวรรค「タ」แทนด้วย "ch-" ทั้งหมด และเสียงควบกล้ำของวรรค「ザ」แทนด้วย "j-" ทั้งหมด เนื่องจากคำนึงถึงความใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาแม่ของเจมส์ เคอร์ทิส เฮ็ปเบิร์น (James Curtis Hepburn)
ระบบนิฮงแทน「ヂ」「ヅ」「ヲ」ด้วย "di" "du" "wo" อิงตามอักขรวิธีโบราณ แต่เนื่องจากในภาษากลาง (ภาษาโตเกียว) ไม่ได้แยกความต่างระหว่าง「ヂ」กับ「ジ」, 「ヅ」กับ「ズ」และ「ヲ」กับ「オ」อีกต่อไป ระบบคุนเรจึงใช้ "zi" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 เช่นเดียวกับระบบเฮ็ปเบิร์นที่ให้ "ji" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」
พยัญชนะท้ายนาสิก
[แก้]โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะท้ายนาสิกให้เขียนเป็น "n" ยกเว้นเฉพาะระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมที่กำหนดให้เขียนเป็น "m" เมื่ออยู่หน้าอักษร "b, p, m"
หากหลัง「ん」เป็นสระหรืออักษรวรรค「ヤ」ในระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมจะเติมเครื่องหมายยัติภังค์ ส่วนระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงจะเติมเครื่องหมายอะพอสทรอฟี เพื่อป้องกันความสับสนที่จะอ่านเป็นอักษรวรรค「ナ」
ตัวอย่าง: shin-ai หรือ shin'ai(親愛) ≠ shinai(市内), shin-yō หรือ shin'yō(信用) ≠ shinyō(屎尿)
พยัญชนะซ้ำ
[แก้]โดยหลักการแล้ว ให้ซ้ำพยัญชนะที่อยู่ก่อนหน้าเสียงพยัญชนะซ้ำ มีข้อยกเว้นเฉพาะในระบบเฮ็ปเบิร์น (ทั้งแบบเก่าและฉบับปรับปรุง) ที่ให้ให้ "t" เมื่อตามด้วย "ch" เช่น "matcha" สำหรับเสียงพยัญชนะซ้ำกรณีที่ปรากฏท้ายคำ เช่น「あっ」「それっ」ไม่มีระบบใดที่กำหนดวิธีเขียนไว้
เสียงยาว
[แก้]- ระบบคุนเรเติมเครื่องหมายเซอร์คัมเฟล็กซ์บนสระ "â, î, û, ê, ô" เพื่อแสดงเสียงสระยาว เช่น Tôkyô(東京)
- ระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมแทนเสียงสระยาวของ "a, i, u, e, o" ด้วย "aa, ii, ū, ee, ō" ตามลำดับ และระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทนด้วย "ā, ii, ū, ē, ō" ตามลำดับ เช่น Tōkyō(東京)
- ไม่ปรากฏการใช้สัญลักษณ์พิเศษแสดงเสียงยาวในระบบนิฮง
- ในการใช้งานจริง บางครั้งอาจจะละสัญลักษณ์แสดงเสียงยาวไป เช่น Tokyo(東京) และบางครั้งอาจพบการใช้อักษร "h" ในการแสดงเสียงยาวของ /o/ เช่น Ohno(大野)
คำช่วย
[แก้]คำช่วย「は」「へ」「を」 ทั้งระบบคุนเรและระบบเฮ็ปเบิร์นเขียนด้วย「わ (wa)」「え (e)」「お (o)」ตามลำดับ แต่อาจพบการเขียนเป็น「は (ha)」「へ (he)」「を (wo)」ได้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการสะท้อนรูปเขียนของอักษรคานะ
ระบบปัจจุบัน
[แก้]เฮ็ปเบิร์น
[แก้]โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์น จะออกเสียงสระตามกลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นวิธีแสดงการสะกดคำในภาษาญี่ปุ่นอย่างเป็นธรรมชาติ และเคยเป็นมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา แต่ถูกยกเลิก ณ วันที่ ๖ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๔ โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นเป็นที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน
โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นฉบับแก้ไข ใช้ขีดข้างบนสระเพื่อแสดงสระเสียงยาว และใช้เครื่องหมายอะพอสทรอฟีเพื่อแบ่งพยางค์ในบางกรณี เช่น じゅんいちろう-Jun'ichirō ระบบนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเรียนต่างชาติและในทางวิชาการ
นิฮงชิกิ
[แก้]โรมาจิแบบนิฮงชิกิ ออกแบบมาเพื่อให้คนญี่ปุ่นเขียนภาษาของตนด้วยอักษรละติน แทนการถ่ายเสียงตามแบบเฮ็ปเบิร์น ระบบนี้ตามระบบอักษรญี่ปุ่นอย่างเคร่งครัด ไม่เปลี่ยนตามวิธีออกเสียง ระบบนี้เป็นมาตรฐาน ISO 3602 Strict
คุงเรชิกิ
[แก้]โรมาจิแบบคุงเรชิกิ เป็นการดัดแปลงเล็กน้อยจากโรมาจิแบบนิฮงชิกิ โดยอักษร づ กับ ず ออกเสียง zu เหมือนกันในภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ ในทางกลับกัน นิฮงชิกิจะเขียน づ เป็น du และเขียน ず เป็น zu คุงเรชิกิเป็นมาตรฐานของทางการญี่ปุ่น และเป็นมาตรฐาน ISO 3602 คุงเรชิกิจะสอนที่โรงเรียนญี่ปุ่นในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ตัวอย่าง
[แก้]
ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง ๆ
ความหมาย | คันจิ/คานะ | ฟูริงานะ | โรมาจิ | ||
---|---|---|---|---|---|
เฮ็ปเบิร์น | คุงเรชิกิ | นิฮงชิกิ | |||
โรมาจิ | ローマ字 | ローマじ | rōmaji | rômazi | rōmazi |
ภูเขาฟูจิ | 富士山 | ふじさん | Fujisan | Huzisan | Huzisan |
ชา | お茶 | おちゃ | ocha | otya | otya |
รัฐบาล | 知事 | ちじ | chiji | tizi | tizi |
ย่อขนาด | 縮む | ちぢむ | chijimu | tizimu | tidimu |
(ตอน) ต่อไป | 続く | つづく | tsuzuku | tuzuku | tuduku |
ความแตกต่างระหว่างระบบต่างๆ
[แก้]ฮิรางานะ | คาตากานะ | เฮปเบิร์น | นิฮงชิกิ | คุงเรชิกิ | สากล |
---|---|---|---|---|---|
あ | ア | a | |||
い | イ | i | |||
う | ウ | u | ɯ | ||
え | エ | e | |||
お | オ | o | |||
か | カ | ka | |||
き | キ | ki | kʲi | ||
く | ク | ku | kɯ | ||
け | ケ | ke | |||
こ | コ | ko | |||
きゃ | キャ | kya | kʲa | ||
きゅ | キュ | kyu | kʲɯ | ||
きょ | キョ | kyo | kʲo | ||
さ | サ | sa | |||
し | シ | shi | si | ɕi | |
す | ス | su | sɯ | ||
せ | セ | se | |||
そ | ソ | so | |||
しゃ | シャ | sha | sya | ɕa | |
しゅ | シュ | shu | syu | ɕɯ | |
しょ | ショ | sho | syo | ɕo | |
た | タ | ta | |||
ち | チ | chi | ti | tɕi | |
つ | ツ | tsu | tu | tsɯ | |
て | テ | te | |||
と | ト | to | |||
ちゃ | チャ | cha | tya | tɕa | |
ちゅ | チュ | chu | tyu | tɕɯ | |
ちょ | チョ | cho | tyo | tɕo | |
な | ナ | na | |||
に | ニ | ni | ɲi | ||
ぬ | ヌ | nu | nɯ | ||
ね | ネ | ne | |||
の | ノ | no | |||
にゃ | ニャ | nya | ɲa | ||
にゅ | ニュ | nyu | ɲɯ | ||
にょ | ニョ | nyo | ɲo | ||
は | ハ | ha | |||
ひ | ヒ | hi | çi | ||
ふ | フ | fu | hu | ɸɯ | |
へ | ヘ | he | |||
ほ | ホ | ho | |||
ひゃ | ヒャ | hya | ça | ||
ひゅ | ヒュ | hyu | çɯ | ||
ひょ | ヒョ | hyo | ço | ||
ま | マ | ma | |||
み | ミ | mi | mʲi | ||
む | ム | mu | mɯ | ||
め | メ | me | |||
も | モ | mo | |||
みゃ | ミャ | mya | mʲa | ||
みゅ | ミュ | myu | mʲɯ | ||
みょ | ミョ | myo | mʲo | ||
や | ヤ | ya | ja | ||
ゆ | ユ | yu | jɯ | ||
よ | ヨ | yo | jo | ||
ら | ラ | ra | ɾa | ||
り | リ | ri | ɾʲi | ||
る | ル | ru | ɾɯ | ||
れ | レ | re | ɾe | ||
ろ | ロ | ro | ɾo | ||
りゃ | リャ | rya | ɾʲa | ||
りゅ | リュ | ryu | ɾʲu | ||
りょ | リョ | ryo | ɾʲo | ||
わ | ワ | wa | wa~ɰa | ||
ゐ | ヰ | i | wi | i | |
ゑ | ヱ | e | we | e | |
を | ヲ | o | wo | o | |
ん | ン | n-n'(-m) | n-n' | m~n~ŋ~ɴ | |
が | ガ | ga | |||
ぎ | ギ | gi | gʲi | ||
ぐ | グ | gu | gɯ | ||
げ | ゲ | ge | |||
ご | ゴ | go | |||
ぎゃ | ギャ | gya | gʲa | ||
ぎゅ | ギュ | gyu | gʲɯ | ||
ぎょ | ギョ | gyo | gʲo | ||
ざ | ザ | za | |||
じ | ジ | ji | zi | ʑi~dʑi | |
ず | ズ | zu | zɯ | ||
ぜ | ゼ | ze | |||
ぞ | ゾ | zo | |||
じゃ | ジャ | ja | zya | ʑa~dʑa | |
じゅ | ジュ | ju | zyu | ʑɯ~dʑɯ | |
じょ | ジョ | jo | zyo | ʑo~dʑo | |
だ | ダ | da | |||
ぢ | ヂ | ji | di | zi | ʑi~dʑi |
づ | ヅ | zu | du | zu | zɯ |
で | デ | de | |||
ど | ド | do | |||
ぢゃ | ヂャ | ja | dya | zya | ʑa~dʑa |
ぢゅ | ヂュ | ju | dyu | zyu | ʑɯ~dʑɯ |
ぢょ | ヂョ | jo | dyo | zyo | ʑo~dʑo |
ば | バ | ba | |||
び | ビ | bi | bʲi | ||
ぶ | ブ | bu | bɯ | ||
べ | ベ | be | |||
ぼ | ボ | bo | |||
びゃ | ビャ | bya | bʲa | ||
びゅ | ビュ | byu | bʲɯ | ||
びょ | ビョ | byo | bʲo | ||
ぱ | パ | pa | |||
ぴ | ピ | pi | pʲi | ||
ぷ | プ | pu | pɯ | ||
ぺ | ペ | pe | |||
ぽ | ポ | po | |||
ぴゃ | ピャ | pya | pʲa | ||
ぴゅ | ピュ | pyu | pʲɯ | ||
ぴょ | ピョ | pyo | pʲo | ||
ゔ | ヴ | vu | βɯ |
คะนะ | เฮปเบิร์น | นิฮงชิกิ | คุงเรชิกิ |
---|---|---|---|
うう | ū | û | |
おう, おお | ō | ô | |
し | shi | si | |
しゃ | sha | sya | |
しゅ | shu | syu | |
しょ | sho | syo | |
じ | ji | zi | |
じゃ | ja | zya | |
じゅ | ju | zyu | |
じょ | jo | zyo | |
ち | chi | ti | |
つ | tsu | tu | |
ちゃ | cha | tya | |
ちゅ | chu | tyu | |
ちょ | cho | tyo | |
ぢ | ji | di | zi |
づ | zu | du | zu |
ぢゃ | ja | dya | zya |
ぢゅ | ju | dyu | zyu |
ぢょ | jo | dyo | zyo |
ふ | fu | hu | |
ゐ | i | wi | i |
ゑ | e | we | e |
を | o | wo | o |
ん | n, n' ( m) | n n' |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "文化庁 | 国語施策・日本語教育 | 国語施策情報 | 内閣告示・内閣訓令 | ローマ字のつづり方 | 訓令,告示制定文". www.bunka.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-10-27.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "小学校学習指導要領解説:文部科学省:【国語編】小学校学習指導要領(平成29年告示)解説". 文部科学省ホームページ (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-10-28.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Iwata, Kazunari; 岩田一成 (2018). "ローマ字 (the Roman alphabet)". Meikai Nihongogaku jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷. Tōkyō. p. 164. ISBN 978-4-385-13580-9. OCLC 1160201927.