ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suisse (คุย | ส่วนร่วม)
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 8 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:McCune-Reischauer Romanization (5587390187).jpg|thumb|ป้ายในสถานี[[รถไฟใต้ดินโซล สาย 8]] รูปเขียน {{transl|ko|MR|[[Jamsil station|Chamshil]]}} ({{lang|ko|잠실역}}) และ {{transl|kr|MR|[[Amsa station|Amsa]]}} ({{lang|ko|암사역}}) เป็นการถอดเสียงเป็นอักษรโรมันตามระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์แบบเกาหลีใต้ ในระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 ชื่อทั้งสองจะถอดเสียงได้เป็น {{transl|ko|RR|Jamsil}} และ {{transl|ko|RR|Amsa}}|alt=An overhead sign in rose and white with a big number 8 and the words Chamshil and Amsa in hangul and Latin script.]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''แมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์''' (McCune-Reischauer) เป็น 1 ใน 2 ระบบ[[การทับศัพท์ภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน]] ที่นิยมใช้ใน[[ภาษาเกาหลี]] เริ่มพัฒนาใน ปี [[พ.ศ. 2480]] (ค.ศ. 1937) และได้รับการยอมรับในวงกว้างในและนอก[[ประเทศเกาหลี]] ซึ่งใน[[ประเทศเกาหลีใต้]]ได้มีการใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบนี้ นำมาใช้เป็นระบบอย่างเป็นทางการของประเทศในช่วง พ.ศ. 2527-2543 คิดค้นโดยชาวอเมริกันสองคน [[จอร์จ เอ็ม. แมกคูน]] และ[[ เอดวิน โอ. ไรซ์ชาวเออร์]] ซึ่งในปัจจุบันเกาหลีใต้ได้เปลี่ยนมาใช้ระบบใหม่ [[ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000]] ในขณะที่[[ประเทศเกาหลีเหนือ]] ยังคงใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน
'''แมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์''' (McCune-Reischauer) เป็น 1 ใน 2 ระบบ[[การถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน]] ที่นิยมใช้ใน[[ภาษาเกาหลี]] เริ่มพัฒนาใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) และได้รับการยอมรับในวงกว้างในและนอก[[ประเทศเกาหลี]] โดยใน[[ประเทศเกาหลีใต้]]ได้มีการใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบนี้จนถึง พ.ศ. 2545 ที่ได้เปลี่ยนมาใช้ระบบใหม่ [[ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000]] ในขณะที่[[ประเทศเกาหลีเหนือ]]ยังคงใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน<ref>{{cite web |url=https://unstats.un.org/Unsd/geoinfo/UNGEGN/docs/6th-uncsgn-docs/WP/6th_uncsgn_WP46.pdf |title=Working Paper No. 46 |website=[[United Nations Group of Experts on Geographical Names|UNGEGN]] |access-date=2018-03-17}}</ref>

ระบบนี้ได้รับการคิดค้นใน พ.ศ. 2482 โดย[[จอร์จ เอ็ม. แมกคูน]] และ[[เอ็ดวิน โอ. ไรซ์ชาวเออร์]]<ref>{{cite journal|author=Lee, Sang-il|title=On Korean Romanization|journal=The Korean Language in America| volume= 8|year= 2003|pages=407–421|publisher=via JSTOR|jstor=42922825|url=https://www.jstor.org/stable/42922825}}</ref><ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=08oPAAAAYAAJ|title=Tables of the McCune-Reischauer System for the Romanization of Korean|year=1961|publisher=Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland. Korea Branch|pages=121}}</ref> ระบบนี้ไม่ได้มุ่งที่จะปริวรรตอักษร[[ฮันกึล]] แต่เน้นการถ่ายเสียงทางสัทศาสตร์เป็นหลักโดยมีข้อยกเว้นบางประการ<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=k-x-AgAAQBAJ&pg=PT87|pages=87|title=The Korean Language: Structure, Use and Context|author=Jae Jung Song|publisher=Routledge|year= 2006|isbn=9781134335893}}</ref>


== การถอดอักษร ==
== การถอดอักษร ==
นี่คือตารางระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเวอร์แบบง่าย


=== สระ ===
=== สระ ===
{|class=wikitable width=700 style="text-align:center;"
{|style="text-align:center" border="2" cellpadding="4" cellspacing="0" style="margin: 1em 1em 1em 0; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
![[ฮันกึล]]
|-
|{{lang|ko|ㅏ}}||{{lang|ko|ㅐ}}||{{lang|ko|ㅑ}}||{{lang|ko|ㅒ}}||{{lang|ko|ㅓ}}||{{lang|ko|ㅔ}}||{{lang|ko|ㅕ}}||{{lang|ko|ㅖ}}||{{lang|ko|ㅗ}}||{{lang|ko|ㅘ}}||{{lang|ko|ㅙ}}||{{lang|ko|ㅚ}}||{{lang|ko|ㅛ}}||{{lang|ko|ㅜ}}||{{lang|ko|ㅝ}}||{{lang|ko|ㅞ}}||{{lang|ko|ㅟ}}||{{lang|ko|ㅠ}}||{{lang|ko|ㅡ}}||{{lang|ko|ㅢ}}||ㅣ
! rowspan="2" | สระ
|ㅏ||ㅑ||ㅓ||ㅕ||ㅗ ||ㅛ ||ㅜ ||ㅠ ||ㅡ||ㅣ||ㅘ ||ㅝ ||ㅐ ||ㅔ ||ㅚ ||ㅟ ||ㅢ ||ㅙ ||ㅞ ||ㅒ||ㅖ
|-
|-
!ถอดเป็นอักษรโรมัน
|a ||ya ||ŏ ||yŏ ||o ||yo ||u ||yu ||ŭ ||i ||wa ||wŏ ||ae ||e *||oe ||wi ||ŭi ||wae ||we ||yae ||ye
|''a''||''ae''||''ya''||''yae''||''ŏ''||''e''*||''yŏ''||''ye''||''o''||''wa''||''wae''||''oe''||''yo''||''u''||''wŏ''||''we''||''wi''||''yu''||''ŭ''||''ŭi''||''i''
|}
|}
* {{lang|ko|ㅔ}}เขียนเป็น ''ë'' เมื่อตามหลัง {{lang|ko|ㅏ}} และ {{lang|ko|ㅗ}} โดยมีไว้เพื่อแยก {{lang|ko|ㅐ}} (''ae'') จาก {{lang|ko|ㅏ에}} (''aë'') และ {{lang|ko|ㅚ}} (''oe'') กับ {{lang|ko|ㅗ에}} (''oë'') อักษรประสม {{lang|ko|ㅏ에}} (''aë'') กับ {{lang|ko|ㅗ에}} (''oë'') แทบไม่ค่อยได้ใช้ ยกเว้นในกรณีที่คำนามมาก่อนหน้าคำบุพบทเช่น 회사에서 ''hoesaësŏ'' (ที่บริษัท) และ 차고에 ''ch'agoë'' (ในโรงรถ)
<nowiki>*</nowiki> e จะถูกเขียนเป็น ë เมื่อตามหลัง ㅏ และ ㅗ
* นามสกุลเกาหลี {{lang|ko|[[Lee (Korean surname)|이/리(李)]]}} และ {{lang|ko|이(異)}} ถอดรูปเป็น ''Yi'' ไม่ใช่ ''I''<ref>{{cite web |url=https://www.loc.gov/catdir/cpso/romanization/korean.pdf |title=Archived copy |website=[[Library of Congress]] |access-date=2015-07-02 |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20150616030539/http://www.loc.gov/catdir/cpso/romanization/korean.pdf |archive-date=2015-06-16 }} page 13</ref> (เช่น {{lang|ko|[[อี ซุน-ชิน|이순신]]}} ถอดรูปเป็น ''Yi Sunsin'')


=== พยัญชนะ ===
=== พยัญชนะ ===
{|class=wikitable width=700 style="text-align:center;"
{| style="text-align:center" border="2" cellpadding="4" cellspacing="0" style="margin: 1em 1em 1em 0; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
!colspan=2|[[ฮันกึล]]
|{{lang|ko|ㄱ}}||{{lang|ko|ㄲ}}||{{lang|ko|ㄴ}}||{{lang|ko|ㄷ}}||{{lang|ko|ㄸ}}||{{lang|ko|ㄹ}}||{{lang|ko|ㅁ}}||{{lang|ko|ㅂ}}||{{lang|ko|ㅃ}}||{{lang|ko|ㅅ}}||{{lang|ko|ㅆ}}||{{lang|ko|ㅇ}}||{{lang|ko|ㅈ}}||{{lang|ko|ㅉ}}||{{lang|ko|ㅊ}}||{{lang|ko|ㅋ}}||{{lang|ko|ㅌ}}||{{lang|ko|ㅍ}}||{{lang|ko|ㅎ}}
|-
|-
!rowspan=2|ถอดเป็นอักษรโรมัน!!ต้น
! colspan="2" | || colspan="14" align="center" | พยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป
| rowspan="2" |''k''||''kk''|| rowspan="2" |''n''|| rowspan="2" |''t''||''tt''||''r''|| rowspan="2" |''m''|| rowspan="2" |''p''||''pp''||''s''||''ss''||–||''ch''||''tch''||''ch'''||''k'''||''t'''||''p'''||''h''
|-
|-
!สะกด
| valign="bottom" colspan="2" |
|''k''||–||''l''||–||''t''||''t''||''ng''||''t''||–||''t''||''k''||''t''||''p''||–
! ㅇ<BR>(†) !! ㄱ<BR>K !! ㄴ<BR>N !! ㄷ<BR>T !! ㄹ<BR>(R) !! ㅁ<BR>M !! ㅂ<BR>P !! ㅅ<BR>S !! ㅈ<BR>CH !! ㅊ<BR>CH' !! ㅋ<BR>K' !! ㅌ<BR>T' !! ㅍ<BR>P' !! ㅎ<BR>H
|}
:* ทวิอักษรพยัญชนะ ({{lang|ko|ㄳ, ㄵ, ㄶ, ㄺ, ㄻ, ㄼ, ㄽ, ㄾ, ㄿ, ㅀ, ㅄ}}) ปรากฏเฉพาะรูปท้าย และถอดรูปด้วยตัวสะกดจริง

{| class="wikitable"
|-
|-
! colspan="2" rowspan="2"| || colspan="14" align="center" | พยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป
! rowspan="6" | พยัญชนะ<br />สะกด || ㅇ NG
| NG || NGG || NGN || NGD || NGN || NGM || NGB || NGS || NGJ || NGCH' || NGK' || NGT' || NGP' || NGH
|-
|-
! {{lang|ko|ㅇ}}<sup>1</sup> !! {{lang|ko|ㄱ}}<br />''k'' !! {{lang|ko|ㄴ}}<br />''n'' !! {{lang|ko|ㄷ}}<br />''t'' !! {{lang|ko|ㄹ}}<br />(''r'') !! {{lang|ko|ㅁ}}<br />''m'' !! {{lang|ko|ㅂ}}<br />''p'' !! {{lang|ko|ㅅ}}<sup>2</sup><br />''s'' !! {{lang|ko|ㅈ}}<br />''ch'' !! {{lang|ko|ㅊ}}<br />''ch''' !! {{lang|ko|ㅋ}}<br />''k''' !! {{lang|ko|ㅌ}}<br />''t''' !! {{lang|ko|ㅍ}}<br />''p''' !! {{lang|ko|ㅎ}}<br />''h''
! ㄱ K
| G || KK || NGN || KT || NGN || NGM || KP || KS || KCH || KCH' || KK' || KT' || KP' || KH
|-
|-
! rowspan="7" | พยัญชนะ<br />สะกด || {{lang|ko|ㄱ}} ''k''
! ㄴ N
| N || N'G || NN || ND || LL || NM || NB || NS || NJ || NCH' || NK' || NT' || NP' || NH
| ''g'' || ''kk'' || ''ngn'' || ''kt'' || ''ngn'' || ''ngm'' || ''kp'' || ''ks'' || ''kch'' || ''kch''' || ''kk''' || ''kt''' || ''kp''' || ''kh''
|-
|-
! {{lang|ko|ㄴ}} ''n''
! ㄹ L
| R || LG || LL || LD || LL || LM || LB || LS || LCH || LCH' || LK' || LT' || LP' || RH
| ''n'' || ''n'g'' || ''nn'' || ''nd'' || ''nn'' || ''nm'' || ''nb'' || ''ns'' || ''nj'' || ''nch''' || ''nk''' || ''nt''' || ''np''' || ''nh''
|-
|-
! {{lang|ko|ㄷ}} ''t''
! ㅁ M
| M || MG || MN || MD || MN || MM || MB || MS || MJ || MCH' || MK' || MT' || MP' || MH
| ''d'' || ''tk'' || ''nn'' || ''tt'' || ''nn'' || ''nm'' || ''tp'' || ''ss'' || ''tch'' || ''tch''' || ''tk''' || ''tt''' || ''tp''' || ''th''
|-
|-
! {{lang|ko|ㄹ}} l
! ㅂ P
| B || PK || MN || PT || MN || MM || PP || PS || PCH || PCH' || PK' || PT' || PP' || PH
| ''r'' || ''lg'' || ''ll''/''nn'' || ''ld''<sup>3</sup> || ''ll'' || ''lm'' || ''lb'' || ''ls'' || ''lj''<sup>3</sup> || ''lch''' || ''lk''' || ''lt''' || ''lp''' || ''rh''
|-
! {{lang|ko|ㅁ}} ''m''
| ''m'' || ''mg'' || ''mn'' || ''md'' || ''mn'' || ''mm'' || ''mb'' || ''ms'' || ''mj'' || ''mch''' || ''mk''' || ''mt''' || ''mp''' || ''mh''
|-
! {{lang|ko|ㅂ}} ''p''
| ''b'' || ''pk'' || ''mn'' || ''pt'' || ''mn'' || ''mm'' || ''pp'' || ''ps'' || ''pch'' || ''pch''' || ''pk''' || ''pt''' || ''pp''' || ''ph''
|-
! {{lang|ko|ㅇ}} ng
| ''ng'' || ''ngg'' || ''ngn'' || ''ngd'' || ''ngn'' || ''ngm'' || ''ngb'' || ''ngs'' || ''ngj'' || ''ngch''' || ''ngk''' || ''ngt''' || ''ngp''' || ''ngh''
|}
|}


พยัญชนะต้น ㅇ จะถือว่าไม่มีเสียง จึงดึงเสียงพยัญชนะมาจากตัวสะกดในคำก่อนหน้า
::# พยัญชนะต้น ㅇ จะถือว่าไม่มีเสียง จึงดึงเสียงพยัญชนะมาจากตัวสะกดในคำก่อนหน้า
::# 쉬 ถอดรูปอักษรโรมันเป็น ''shwi''
::# ในศัพท์จีน-เกาหลี ถอดรูปเป็น ''lt'' และ ''lch'' ตามลำดับ


ตามปกติแล้ว การตัดสินใจว่าจะใช้ ''g'' หรือ ''k'', ''b'' หรือ ''p'', ''d'' หรือ ''t'' และ ''j'' หรือ ''ch'' สามารถพิจารณาว่าเป็นเสียงหนักหรือเสียงเบา ถ้าเป็นเสียงหนักใช้ ''g'', ''b'', ''d'' หรือ ''j'' และถ้าเป็นเสียงเบาใช้ ''k'', ''p'', ''t'' หรือ ''ch'' ตามลำดับ การพิจารณาสำเนียงเช่นนี้จะสำคัญมากกว่าตารางที่ให้มา
ตามปกติแล้ว การตัดสินใจว่าอักษร ㄱ, ㄷ, ㅂ และ ㅈ จะใช้ ''g'' หรือ ''k'', ''b'' หรือ ''p'', ''d'' หรือ ''t'' และ ''j'' หรือ ''ch'' สามารถพิจารณาว่าเป็นเสียงหนักหรือเสียงเบา ถ้าเป็นเสียงหนักใช้ ''g'', ''b'', ''d'' หรือ ''j'' และถ้าเป็นเสียงเบาใช้ ''k'', ''p'', ''t'' หรือ ''ch'' ตามลำดับ การพิจารณาสำเนียงเช่นนี้จะสำคัญมากกว่าตารางที่ให้มา

=== พยัญชนะซ้อน ===
;พยัญชนะต้น
* ㄲ kk
* ㄸ tt
* ㅃ pp
* ㅆ ss
* ㅉ tch
;พยัญชนะสะกด
* ㄳ ks(h)
* ㄵ nj
* ㄶ nh
* ㄺ lg
* ㄻ lm
* ㄼ lb
* ㄽ ls(h)
* ㄾ lt
* ㄿ lp'
* ㅀ rh
* ㅄ bs


=== ตัวอย่าง===
=== ตัวอย่าง===
บรรทัด 81: บรรทัด 81:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[การทับศัพท์ภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน]]
* [[การถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน]]
* [[อักษรฮันกึล]]

== อ้างอิง ==
{{reflist}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.romanization.org/main.php Korean McCune–Reischauer Romanization Dictionary]
* [https://web.archive.org/web/20090302174913/http://mccune-reischauer.tistory.com/ A Practical Guide to McCune–Reischauer Romanization]: Rules, guidelines, and font
* [http://mccune-reischauer.tistory.com/ A Practical Guide to McCune–Reischauer Romanization]: Rules, guidelines, and font
* [http://www.eki.ee/wgrs/rom2_ko.pdf Comparison table of different romanization systems from UN Working Group on Romanization Systems (PDF file)]
* [http://www.eki.ee/wgrs/rom2_ko.pdf Comparison table of different romanization systems from UN Working Group on Romanization Systems (PDF file)]
* PDF files of the [http://www.nla.gov.au/librariesaustralia/cjk/download/ras_1939.pdf 1939 paper], and the [http://faculty.washington.edu/sangok/JSISA448/ras_1961.pdf 1961 paper]
* PDF files of the
* {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090327130423/http://earth-info.nga.mil/gns/html/Romanization/Romanization_Korean.pdf|date=March 27, 2009|title=Romanization System of Korean: McCune Reischauer (with minor modifications) BGN/PCGN 1945 Agreement}}
**[http://www.nla.gov.au/librariesaustralia/cjk/download/ras_1939.pdf 1939 paper], and the
* [http://www.ushuaia.pl/transliterate/?ln=en Online tool for McCune–Reischauer romanization (with BGN modifications)]
**[http://www.nla.gov.au/librariesaustralia/cjk/download/ras_1961.pdf 1961 paper]
* [http://earth-info.nga.mil/gns/html/Romanization/Romanization_Korean.pdf Romanization System of Korean: McCune Reischauer (with minor modifications) BGN/PCGN 1945 Agreement]


[[หมวดหมู่:ภาษาเกาหลี|มแกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาเกาหลี|มแกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ]]
[[หมวดหมู่:การถอดเป็นอักษรโรมัน|มแกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ]]
[[หมวดหมู่:การถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน|มแกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ ]]
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}

[[bg:Система на Маккюн-Райшауер]]
[[de:McCune-Reischauer]]
[[en:McCune–Reischauer]]
[[eo:Transskribo de McCune-Reischauer]]
[[es:McCune-Reischauer]]
[[fr:Romanisation McCune-Reischauer]]
[[id:McCune–Reischauer]]
[[it:McCune-Reischauer]]
[[ja:マッキューン=ライシャワー式]]
[[ko:매큔·라이샤워 표기법]]
[[ms:Perumian McCune–Reischauer]]
[[nl:McCune-Reischauer]]
[[no:McCune-Reischauer]]
[[pl:Transkrypcja McCune'a-Reischauera]]
[[pt:McCune-Reischauer]]
[[ru:Романизация Маккьюна — Райшауэра]]
[[simple:McCune-Reischauer]]
[[sv:McCune-Reischauer]]
[[uk:Система Макк'юна-Райшауера]]
[[vi:McCune–Reischauer]]
[[zh:馬科恩-賴肖爾表記法]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:45, 25 ตุลาคม 2567

An overhead sign in rose and white with a big number 8 and the words Chamshil and Amsa in hangul and Latin script.
ป้ายในสถานีรถไฟใต้ดินโซล สาย 8 รูปเขียน Chamshil (잠실역) และ Amsa (암사역) เป็นการถอดเสียงเป็นอักษรโรมันตามระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์แบบเกาหลีใต้ ในระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 ชื่อทั้งสองจะถอดเสียงได้เป็น Jamsil และ Amsa

แมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ (McCune-Reischauer) เป็น 1 ใน 2 ระบบการถอดอักษรเกาหลีเป็นอักษรโรมัน ที่นิยมใช้ในภาษาเกาหลี เริ่มพัฒนาใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) และได้รับการยอมรับในวงกว้างในและนอกประเทศเกาหลี โดยในประเทศเกาหลีใต้ได้มีการใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบนี้จนถึง พ.ศ. 2545 ที่ได้เปลี่ยนมาใช้ระบบใหม่ ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 ในขณะที่ประเทศเกาหลีเหนือยังคงใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน[1]

ระบบนี้ได้รับการคิดค้นใน พ.ศ. 2482 โดยจอร์จ เอ็ม. แมกคูน และเอ็ดวิน โอ. ไรซ์ชาวเออร์[2][3] ระบบนี้ไม่ได้มุ่งที่จะปริวรรตอักษรฮันกึล แต่เน้นการถ่ายเสียงทางสัทศาสตร์เป็นหลักโดยมีข้อยกเว้นบางประการ[4]

การถอดอักษร

[แก้]

นี่คือตารางระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเวอร์แบบง่าย

สระ

[แก้]
ฮันกึล
ถอดเป็นอักษรโรมัน a ae ya yae ŏ e* ye o wa wae oe yo u we wi yu ŭ ŭi i
  • เขียนเป็น ë เมื่อตามหลัง และ โดยมีไว้เพื่อแยก (ae) จาก ㅏ에 () และ (oe) กับ ㅗ에 () อักษรประสม ㅏ에 () กับ ㅗ에 () แทบไม่ค่อยได้ใช้ ยกเว้นในกรณีที่คำนามมาก่อนหน้าคำบุพบทเช่น 회사에서 hoesaësŏ (ที่บริษัท) และ 차고에 ch'agoë (ในโรงรถ)
  • นามสกุลเกาหลี 이/리(李) และ 이(異) ถอดรูปเป็น Yi ไม่ใช่ I[5] (เช่น 이순신 ถอดรูปเป็น Yi Sunsin)

พยัญชนะ

[แก้]
ฮันกึล
ถอดเป็นอักษรโรมัน ต้น k kk n t tt r m p pp s ss ch tch ch' k' t' p' h
สะกด k l t t ng t t k t p
  • ทวิอักษรพยัญชนะ (ㄳ, ㄵ, ㄶ, ㄺ, ㄻ, ㄼ, ㄽ, ㄾ, ㄿ, ㅀ, ㅄ) ปรากฏเฉพาะรูปท้าย และถอดรูปด้วยตัวสะกดจริง
พยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป
1
k

n

t

(r)

m

p
2
s

ch

ch'

k'

t'

p'

h
พยัญชนะ
สะกด
k g kk ngn kt ngn ngm kp ks kch kch' kk' kt' kp' kh
n n n'g nn nd nn nm nb ns nj nch' nk' nt' np' nh
t d tk nn tt nn nm tp ss tch tch' tk' tt' tp' th
l r lg ll/nn ld3 ll lm lb ls lj3 lch' lk' lt' lp' rh
m m mg mn md mn mm mb ms mj mch' mk' mt' mp' mh
p b pk mn pt mn mm pp ps pch pch' pk' pt' pp' ph
ng ng ngg ngn ngd ngn ngm ngb ngs ngj ngch' ngk' ngt' ngp' ngh
  1. พยัญชนะต้น ㅇ จะถือว่าไม่มีเสียง จึงดึงเสียงพยัญชนะมาจากตัวสะกดในคำก่อนหน้า
  2. 쉬 ถอดรูปอักษรโรมันเป็น shwi
  3. ในศัพท์จีน-เกาหลี ถอดรูปเป็น lt และ lch ตามลำดับ

ตามปกติแล้ว การตัดสินใจว่าอักษร ㄱ, ㄷ, ㅂ และ ㅈ จะใช้ g หรือ k, b หรือ p, d หรือ t และ j หรือ ch สามารถพิจารณาว่าเป็นเสียงหนักหรือเสียงเบา ถ้าเป็นเสียงหนักใช้ g, b, d หรือ j และถ้าเป็นเสียงเบาใช้ k, p, t หรือ ch ตามลำดับ การพิจารณาสำเนียงเช่นนี้จะสำคัญมากกว่าตารางที่ให้มา

ตัวอย่าง

[แก้]

ตัวอย่างง่าย:

  • 부산 pusan
  • 못하다 mothada
  • 먹다 mŏkta
  • 먹었다 mŏgŏtta
  • 연락 yŏllak
  • 한국말 han'gungmal
  • 먹는군요 mŏngnŭn'gunyo
  • 역량 yŏngnyang
  • 십리 simni
  • 같이 kach'i
  • 않다 ant'a

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Working Paper No. 46" (PDF). UNGEGN. สืบค้นเมื่อ 2018-03-17.
  2. Lee, Sang-il (2003). "On Korean Romanization". The Korean Language in America. via JSTOR. 8: 407–421. JSTOR 42922825.
  3. Tables of the McCune-Reischauer System for the Romanization of Korean. Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland. Korea Branch. 1961. p. 121.
  4. Jae Jung Song (2006). The Korean Language: Structure, Use and Context. Routledge. p. 87. ISBN 9781134335893.
  5. "Archived copy" (PDF). Library of Congress. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-16. สืบค้นเมื่อ 2015-07-02.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) page 13

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]