ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การแรงงานระหว่างประเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: kk:Еңбек жөніндегі халықаралық ұйым
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 28 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 20 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox organization
'''องค์การแรงงานระหว่างประเทศ''' หรือ '''ไอแอลโอ''' ({{lang-en|International Labour Organization; ILO}}) องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นตั้งแต่ยังไม่มี[[องค์การสหประชาชาติ]] คือเมื่อ [[พ.ศ. 2462]] ([[ค.ศ. 1919]]) เป็นองค์การชำนาญเฉพาะเรื่อง องค์การแรกที่เข้าอยู่ในเครือสหประชาชาติ คือเมื่อ [[พ.ศ. 2489]] ([[ค.ศ. 1946]]) องค์การนี้มีอายุได้ 77 ปี ใน [[พ.ศ. 2539]] ในบรรดารัฐสมาชิกสหประชาชาติที่นับว่าเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง มี[[ประเทศไทย]]รวมอยู่ด้วย ประเทศอื่นในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ได้แก่ [[จีน]] [[อินเดีย]] [[ญี่ปุ่น]] และ[[นิวซีแลนด์]]
| name = องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
| logo = Flag of ILO.svg
| logo_size = 175px
| logo_caption = ธง
| image = ILO Geneva.JPG
| image_size = 260px
| caption = สำนักงานใหญ่ไอแอลโอ ณ เจนีวา
| type = ทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ
| abbreviation = ไอแอลโอ
| languages = {{hlist|[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]|[[ภาษาสเปน|สเปน]]|[[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]}}
| leader_title = ผู้อำนวยการ
| leader_name = [[กิลเบิร์ต ฮองโบ]]
| status = ดำเนินงานอยู่
| formation = {{start date and age|1919|4|11|df=yes}}
| headquarters = [[เจนีวา]] ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
| awards = [[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]] (1969)
| website = {{official URL}}
| parent_organization = [[สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ]] <br /> [[คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ]]
| subsidiaries =
}}

'''องค์การแรงงานระหว่างประเทศ''' หรือ '''ไอแอลโอ''' ({{langx|en|International Labour Organization; ILO}}) องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของ[[สันนิบาตชาติ]] เมื่อ [[พ.ศ. 2462]] ([[ค.ศ. 1919]]) เป็นองค์การชำนาญเฉพาะเรื่อง และเข้ามาอยู่ในสังกัดของ[[สหประชาชาติ]]เมื่อสันนิบาตชาติถูกยุบลง


== ภารกิจหลัก ==
== ภารกิจหลัก ==
บรรทัด 24: บรรทัด 46:


[[หมวดหมู่:องค์การระหว่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:องค์การระหว่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2462]]

[[หมวดหมู่:เจนีวา]]
[[ar:منظمة العمل الدولية]]
[[หมวดหมู่:องค์การที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]
[[ast:Organización Internacional del Trabayu]]
[[az:Beynəlxalq Əmək Təşkilatı]]
[[be:Міжнародная арганізацыя працы]]
[[be-x-old:Міжнародная арганізацыя працы]]
[[bg:Международна организация на труда]]
[[bi:Oganaesesen blong ol Leba Raonwol]]
[[ca:Organització Internacional del Treball]]
[[cs:Mezinárodní organizace práce]]
[[da:International Labour Organization]]
[[de:Internationale Arbeitsorganisation]]
[[el:Διεθνής Οργάνωση Εργασίας]]
[[en:International Labour Organization]]
[[eo:Internacia Organizaĵo de Laboro]]
[[es:Organización Internacional del Trabajo]]
[[et:Rahvusvaheline Tööorganisatsioon]]
[[fa:سازمان بین‌المللی کار]]
[[fi:Kansainvälinen työjärjestö]]
[[fr:Organisation internationale du travail]]
[[gl:Organización Internacional do Traballo]]
[[he:ארגון העבודה הבינלאומי]]
[[hi:अंतरराष्ट्रीय श्रम संघ]]
[[hr:Međunarodna organizacija rada]]
[[hu:Nemzetközi Munkaügyi Szervezet]]
[[id:Organisasi Buruh Internasional]]
[[it:Organizzazione Internazionale del Lavoro]]
[[ja:国際労働機関]]
[[jv:ILO]]
[[kk:Еңбек жөніндегі халықаралық ұйым]]
[[ko:국제 노동 기구]]
[[ku:ILO]]
[[la:Societas internationalis Laboris]]
[[mk:Меѓународна организација на трудот]]
[[ml:അന്താരാഷ്ട്ര തൊഴിൽ സംഘടന]]
[[ms:Pertubuhan Buruh Antarabangsa]]
[[my:အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ အလုပ်သမားအဖွဲ့]]
[[ne:अन्तरराष्ट्रिय श्रम संगठन]]
[[nl:Internationale Arbeidsorganisatie]]
[[no:Den internasjonale arbeidsorganisasjonen]]
[[oc:Organizacion Internacionala del Trabalh]]
[[pl:Międzynarodowa Organizacja Pracy]]
[[pnb:انٹرنیشنل مزدور سنگت]]
[[pt:Organização Internacional do Trabalho]]
[[ru:Международная организация труда]]
[[scn:BIT]]
[[simple:International Labour Organization]]
[[sk:Medzinárodná organizácia práce]]
[[sl:Mednarodna organizacija dela]]
[[sv:International Labour Organization]]
[[ta:பன்னாட்டு தொழிலாளர் அமைப்பு]]
[[tr:Uluslararası Çalışma Örgütü]]
[[uk:Міжнародна організація праці]]
[[ur:عالمی ادارہ محنت]]
[[vi:Tổ chức Lao động Quốc tế]]
[[yo:International Labour Organization]]
[[zh:國際勞工組織]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:08, 9 ธันวาคม 2567

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ชื่อย่อไอแอลโอ
ก่อตั้ง11 เมษายน 1919; 105 ปีก่อน (1919-04-11)
ประเภททบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ
สถานะตามกฎหมายดำเนินงานอยู่
สํานักงานใหญ่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ภาษาทางการ
ผู้อำนวยการ
กิลเบิร์ต ฮองโบ
องค์กรปกครอง
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (1969)
เว็บไซต์www.ilo.org แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ไอแอลโอ (อังกฤษ: International Labour Organization; ILO) องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสันนิบาตชาติ เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) เป็นองค์การชำนาญเฉพาะเรื่อง และเข้ามาอยู่ในสังกัดของสหประชาชาติเมื่อสันนิบาตชาติถูกยุบลง

ภารกิจหลัก

[แก้]

ภารกิจหลักของไอแอลโอ คือช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานทั่วโลกให้ได้รับความยุติธรรมจากสังคม ให้มีชีวิต และสภาพการทำงานที่ดีขึ้น ผลงานขององค์การทำให้ได้รับรางวัลโนเบล เพื่อสันติภาพ เมื่อ พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) [1] ทั้งนี้โดยที่องค์การยึดมั่นในหลักการที่ว่า สันติสุขแห่งโลกจะเกิดขึ้นได้และมีความต่อเนื่องมั่นคงก็ด้วยการที่มีความยุติธรรมในสังคม มีฐานรากคือ ความเคารพในสิทธิมนุษยชน มีมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดี มีสภาพการทำงานซึ่งเกื้อกูลความผาสุกของผู้ใช้แรงงาน การมีโอกาสทำงานและมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของไอแอลโอ

[แก้]

ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานของไอแอลโอ คือจัดให้มีการเจรจาร่วมของผู้เกี่ยวข้องสามฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายแรงงาน ในกรณีที่มีความขัดแย้งและพยายามแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีมติเป็นเอกฉันท์ ภารกิจขององค์การนี้ในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกมีความหลากหลายและยุ่งยาก เพราะประเทศต่างๆ มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม โครงสร้าง รายได้และสวัสดิการสังคม การพาณิชย์ การลงทุน แรงงาน ปัญหาด้านสังคมและแรงงาน ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้านเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศที่เริ่มเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม ก็ได้นำมาซึ่งปัญหาใหม่ๆ อีกมากมาย

ไอแอลโอ จัดลำดับเรื่องสำคัญรีบด่วนไว้สามประการ คือ

  • การจัดให้มีงานทำและขจัดความยากจน
  • การคุ้มครองผู้ใช้แรงงาน
  • ส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิแห่งมนุษยชน

ในข้อแรกไอแอลโอ ช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการฝึกอบรมผู้ใช้แรงงานให้มีประสิทธิภาพ ในข้อที่สอง ไอแอลโอ ช่วยประเทศต่างๆ ให้เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความปลอดภัย และให้ตระหนักถึงภัยที่เกิดจากการทำงานในโรงงาน ในข้อที่สามไอแอลโอช่วยเหลือในการออกกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายจ้าง สนับสนุนองค์การของผู้ใช้แรงงาน ได้กำหนดมาตรฐานสากลเกี่ยวกับแรงงาน ซึ่งช่วยในการสร้างเสริมประชาธิปไตยและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

สำนักงานประจำภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก

[แก้]

องค์การไอแอลโอ มีสำนักงานภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศหลายแห่งในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก ให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ จัดการฝึกอบรม ทำการศึกษาวิจัย เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างรัฐบาล แรงงานและนายจ้าง ในระดับประเทศ สำนักงานภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร

อ้างอิง

[แก้]