ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถอดเสียง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 9 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การถอดเสียง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} (สืบค้นออนไลน์)</ref> หรือ '''การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง''' ({{lang-en|Transcription}}) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับ[[การทับศัพท์แบบถอดอักษร]] ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอด[[อักษรซีริลลิก]]เป็น[[อักษรละติน]]สำหรับภาษา[[รัสเซีย]] (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น
'''การถอดเสียง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} (สืบค้นออนไลน์)</ref> หรือ '''การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง''' ({{langx|en|Transcription}}) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับ[[การทับศัพท์แบบถอดอักษร]] ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอด[[อักษรซีริลลิก]]เป็น[[อักษรละติน]]สำหรับภาษา[[รัสเซีย]] (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น


มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ [[สัทอักษรสากล]] และ แซมปา
มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ [[สัทอักษรสากล]] และ แซมปา
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
* [[การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอาหรับ]]
* [[การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอาหรับ]]
* [[การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลี]]
* [[การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลี]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.royin.go.th/th/home/index.php หลักเกณฑ์การทับศัพท์ระบบราชบัณฑิตยสถาน]{{ลิงก์เสีย|date=ธันวาคม 2024 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} ใน <small> [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=213&SystemModuleKey=127 ภาษาอังกฤษ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201808/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=213&SystemModuleKey=127 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=188&SystemModuleKey=121 ภาษาญี่ปุ่น] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201650/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=188&SystemModuleKey=121 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=169&SystemModuleKey=122 ภาษาฝรั่งเศส] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201757/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=169&SystemModuleKey=122 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=162&SystemModuleKey=123 ภาษามลายู] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201747/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=162&SystemModuleKey=123 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=152&SystemModuleKey=124 ภาษาเยอรมัน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201717/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=152&SystemModuleKey=124 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=110&SystemModuleKey=125 ภาษารัสเซีย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201640/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=110&SystemModuleKey=125 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=202&SystemModuleKey=126 ภาษาสเปน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201707/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=202&SystemModuleKey=126 |date=2007-03-10 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=212&SystemModuleKey=128 ภาษาอาหรับ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081002085448/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=212&SystemModuleKey=128 |date=2008-10-02 }} [http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=106&SystemModuleKey=129 ภาษาอิตาลี] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070310201737/http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=106&SystemModuleKey=129 |date=2007-03-10 }} </small>
== หลักเกณฑ์การทับศัพท์ระบบราชบัณฑิตยสถาน ใน <small> ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษามลายู ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาอิตาลี </small> ==
== ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน ฐานข้อมูลศัพท์บัญญัติ ในสาขาต่าง ๆ ==
* [http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} ฐานข้อมูลศัพท์บัญญัติ ในสาขาต่าง ๆ

{{การเขียนคำทับศัพท์โดยราชบัณฑิตยสถาน}}
[[หมวดหมู่:สัทศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สัทศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:การเขียน]]
[[หมวดหมู่:การเขียน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:26, 10 ธันวาคม 2567

การถอดเสียง[1] หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (อังกฤษ: Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น

มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา

ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกับ

การทับศัพท์
ต้นฉบับ ภาษารัสเซีย (อักษรซีลิลิก) Борис Николаевич Ельцин
คำทับศัพท์แบบถอดอักษรอย่างเป็นทางการ (GOST) Boris Nikolaevič El'cin
คำทับศัพท์แบบถอดอักษรในทางวิชาการ Boris Nikolajevič Jel’cin
คำทับศัพท์แบบถ่ายเสียงในลักษณะสัทอักษรสากล เปลี่ยนคำพูดภาษาอื่นๆเป็นภาษาไทย
เขียนชื่อบุคคลเดิมในภาษาอื่น
ภาษาอังกฤษ Boris Nikolayevitch Yeltsin
ภาษาเยอรมัน Boris Nikolajewitsch Jelzin
ภาษาฮิบรู בוריס ניקולאייביץ' יילצין
ภาษาสเปน Borís Nikoláievich Yeltsin
ภาษาตุรกี Boris Nikolayeviç Yeltsin

การทับศัพท์ในภาษาต่างๆ

[แก้]

คำเดียวกันมักจะมีการทับศัพท์แตกต่างกัน ถ้าใช้ระบบที่ต่างกัน เช่นในภาษาจีน ชื่อเมืองหลวง ปักกิ่ง ได้มีการทับศัพท์ 2 แบบ คือ Beijing ในระบบฮั่นหยู่พินอิน และ Pei-Ching ในระบบWade-Giles

การทับศัพท์จากภาษาอื่นไปเป็นภาษาจีน ใช้การเขียนคำศัพท์ที่มีเสียงใกล้เคียง เช่นชื่อ บุช ในชื่อจอร์จ บุช ทับศัพท์ในภาษาจีนเป็น "โบวซู" (布殊) โดยตัวอักษรมีความหมายว่า "ผ้า" และ "พิเศษ" สำหรับภาษาญี่ปุ่น คำทับศัพท์จากภาษาอื่นมา จะถูกเขียนในตัวอักษรคาตากานะ ซึ่งเป็นหนึ่งในระบบการเขียนของภาษาญี่ปุ่น

ในภาษาไทย ระบบการทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถานเป็นระบบมาตรฐานที่ใช้สำหรับเอกสารทางราชการในประเทศไทย และยังคมนิยมใช้เป็นมาตรฐานหลักในประเทศไทย โดยมีระบบสำหรับการทับศัพท์ในภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษามลายู ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาอิตาลี นอกจากนี้การทับศัพท์จากภาษาไทยเป็นตัวอักษรละติน ในระบบ ALA-LC โดย The Library of Congress [2] และ มาตรฐาน ISO 11940 (ค.ศ. 1998) แบบถ่ายถ่ายทอดตัวอักษรโดยระบบของแอนซี

ภายหลังจากการทับศัพท์

[แก้]

ภายหลังจากการทับศัพท์ เสียงต้นฉบับของคำอาจจะมีการสูญหายไป เนื่องจากมีการพัฒนาระบบของแต่ละภาษาแตกต่างกันไป หรือมีการนำคำศัพท์เดิมในรูปแบบตัวอักษรไปเขียนและอ่านในภาษาใหม่แทนที่ เช่น คำว่า ฌาน ในภาษาบาลี หรือ ธฺยาน ในภาษาสันสกฤต เขียนในอักษระละตินว่า Dhyāna ต่อมาได้ทับศัพท์ในภาษาจีนว่า ฌาน (禪) และชาวญี่ปุ่นได้นำศัพท์ภาษาจีน ไปใช้ในรูปแบบของอักษรคันจิของภาษาญี่ปุ่นในอักษรเดิมแต่อ่านว่า เซน (禅, ゼン) หลังจากนั้นภาษาอังกฤษได้มีการนำศัพท์คำว่า เซน จากภาษาญี่ปุ่นทับเป็นคำว่า zen ซึ่งคำต้นฉบับคือคำว่า dhyāna ได้เปลี่ยนเป็น Zen ในการทับศัพท์หลายครั้ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

การทับศัพท์เฉพาะภาษา

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]