ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Missing Google Translated Guy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}}
'''โรมาจิ''' ({{ญี่ปุ่น|ローマ字|Rōmaji||{{IPA-ja|ɾoːma(d)ʑi||Ja-Romaji.oga}} หรือ {{IPA-ja|ɾoːmaꜜ(d)ʑi|}}, {{Lit|อักษรโรมัน}}|lead=yes}}) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 訓令式 โรมาจิ: ''Kunrei-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: คุนเรชิกิ) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ヘボン式 โรมาจิ: ''Hebon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: เฮบงชิกิ) '''ระบบนิฮง''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本式 โรมาจิ: ''Nihon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: นิฮงชิกิ) เป็นต้น
'''โรมานิวจิ''' ({{ญี่ปุ่น|ローマ字|Rōmaji||{{IPA-ja|ɾoːma(d)ʑi||Ja-Romaji.oga}} หรือ {{IPA-ja|ɾoːmaꜜ(d)ʑi|}}, {{Lit|อักษรโรมัน}}|lead=yes}}) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 訓令式 โรมาจิ: ''Kunrei-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: คุนเรชิกิ) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ヘボン式 โรมาจิ: ''Hebon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: เฮบงชิกิ) '''ระบบนิฮง''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本式 โรมาจิ: ''Nihon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: นิฮงชิกิ) เป็นต้น


ในปี ค.ศ. 1954 ([[ยุคโชวะ|ปีโชวะ]]ที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: ''Rōmaji no tsuzurikata'') ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref>
ในปี ค.ศ. 1954 ([[ยุคโชวะ|ปีโชวะ]]ที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: ''Rōmaji no tsuzurikata'') ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:27, 11 สิงหาคม 2567

โรมานิวจิ (ญี่ปุ่น: ローマ字โรมาจิRōmaji[ɾoːma(d)ʑi] หรือ [ɾoːmaꜜ(d)ʑi], แปลว่า อักษรโรมัน) หมายถึง อักษรโรมัน (อักษรละติน) ที่ใช้แทนอักษรคานะในภาษาญี่ปุ่นตามระบบการถอดเป็นอักษรโรมัน (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ ระบบคุนเร (ญี่ปุ่น: 訓令式 โรมาจิ: Kunrei-shiki ทับศัพท์: คุนเรชิกิ) ระบบเฮ็ปเบิร์น (ญี่ปุ่น: ヘボン式 โรมาจิ: Hebon-shiki ทับศัพท์: เฮบงชิกิ) ระบบนิฮง (ญี่ปุ่น: 日本式 โรมาจิ: Nihon-shiki ทับศัพท์: นิฮงชิกิ) เป็นต้น

ในปี ค.ศ. 1954 (ปีโชวะที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน" (ญี่ปุ่น: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: Rōmaji no tsuzurikata) ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต[1]

นอกจากนี้ ใน "แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา" (ญี่ปุ่น: 小学校学習指導要領โรมาจิShōgakkō gakushū shidō yōryō) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 (ปีเฮเซที่ 29) ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดภาษาญี่ปุ่นเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย[2] อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์[3]

อักขรวิธี

สระ

เสียงสระ「ア、イ、ウ、エ、オ」เขียนเป็น "a, i, u, e, o" ตามลำดับ

พยัญชนะและเสียงควบกล้ำ

โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะของอักษรวรรค 「カ、サ、タ、ナ、ハ、マ、ヤ、ラ、ワ、ガ、ザ、ダ、バ、パ」ให้เขียนเป็น "k, s, t, n, h, m, y, r, w, g, z, d, b, p" ตามลำดับ ส่วนเสียงควบกล้ำให้เขียนเป็น "พยัญชนะ+y+สระ" เช่น 「キャ」→ "kya"

ระบบเฮ็ปเบิร์นและระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทน「シ」ด้วย "shi" แทน「チ」ด้วย "chi" แทน「ツ」ด้วย "tsu" แทน「フ」ด้วย "fu" แทน「ジ」ด้วย "ji" เสียงควบกล้ำของวรรค「サ」แทนด้วย "sh-" ทั้งหมด เสียงควบกล้ำของวรรค「タ」แทนด้วย "ch-" ทั้งหมด และเสียงควบกล้ำของวรรค「ザ」แทนด้วย "j-" ทั้งหมด เนื่องจากคำนึงถึงความใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาแม่ของเจมส์ เคอร์ทิส เฮ็ปเบิร์น (James Curtis Hepburn)

ระบบนิฮงแทน「ヂ」「ヅ」「ヲ」ด้วย "di" "du" "wo" อิงตามอักขรวิธีโบราณ แต่เนื่องจากในภาษากลาง (ภาษาโตเกียว) ไม่ได้แยกความต่างระหว่าง「ヂ」กับ「ジ」, 「ヅ」กับ「ズ」และ「ヲ」กับ「オ」อีกต่อไป ระบบคุนเรจึงใช้ "zi" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 เช่นเดียวกับระบบเฮ็ปเบิร์นที่ให้ "ji" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」

พยัญชนะท้ายนาสิก

โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะท้ายนาสิกให้เขียนเป็น "n" ยกเว้นเฉพาะระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมที่กำหนดให้เขียนเป็น "m" เมื่ออยู่หน้าอักษร "b, p, m"

หากหลัง「ん」เป็นสระหรืออักษรวรรค「ヤ」ในระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมจะเติมเครื่องหมายยัติภังค์ ส่วนระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงจะเติมเครื่องหมายอะพอสทรอฟี เพื่อป้องกันความสับสนที่จะอ่านเป็นอักษรวรรค「ナ」

ตัวอย่าง: shin-ai หรือ shin'ai(親愛しんあい) ≠ shinai(市内しない), shin-yō หรือ shin'yō(信用しんよう) ≠ shinyō(屎尿しにょう

พยัญชนะซ้ำ

โดยหลักการแล้ว ให้ซ้ำพยัญชนะที่อยู่ก่อนหน้าเสียงพยัญชนะซ้ำ มีข้อยกเว้นเฉพาะในระบบเฮ็ปเบิร์น (ทั้งแบบเก่าและฉบับปรับปรุง) ที่ให้ให้ "t" เมื่อตามด้วย "ch" เช่น "matcha" สำหรับเสียงพยัญชนะซ้ำกรณีที่ปรากฏท้ายคำ เช่น「あっ」「それっ」ไม่มีระบบใดที่กำหนดวิธีเขียนไว้

เสียงยาว

  • ระบบคุนเรเติมเครื่องหมายเซอร์คัมเฟล็กซ์บนสระ "â, î, û, ê, ô" เพื่อแสดงเสียงสระยาว เช่น Tôkyô(東京とうきょう
  • ระบบเฮ็ปเบิร์นดั้งเดิมแทนเสียงสระยาวของ "a, i, u, e, o" ด้วย "aa, ii, ū, ee, ō" ตามลำดับ และระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทนด้วย "ā, ii, ū, ē, ō" ตามลำดับ เช่น Tōkyō(東京とうきょう
  • ไม่ปรากฏการใช้สัญลักษณ์พิเศษแสดงเสียงยาวในระบบนิฮง
  • ในการใช้งานจริง บางครั้งอาจจะละสัญลักษณ์แสดงเสียงยาวไป เช่น Tokyo(東京とうきょう) และบางครั้งอาจพบการใช้อักษร "h" ในการแสดงเสียงยาวของ /o/ เช่น Ohno(大野おおの

คำช่วย

คำช่วย「は」「へ」「を」 ทั้งระบบคุนเรและระบบเฮ็ปเบิร์นเขียนด้วย「わ (wa)」「え (e)」「お (o)」ตามลำดับ แต่อาจพบการเขียนเป็น「は (ha)」「へ (he)」「を (wo)」ได้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการสะท้อนรูปเขียนของอักษรคานะ

ระบบปัจจุบัน

เฮ็ปเบิร์น

โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์น จะออกเสียงสระตามกลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นวิธีแสดงการสะกดคำในภาษาญี่ปุ่นอย่างเป็นธรรมชาติ และเคยเป็นมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา แต่ถูกยกเลิก ณ วันที่ ๖ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๔ โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นเป็นที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน

โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นฉบับแก้ไข ใช้ขีดข้างบนสระเพื่อแสดงสระเสียงยาว และใช้เครื่องหมายอะพอสทรอฟีเพื่อแบ่งพยางค์ในบางกรณี เช่น じゅんいちろう-Jun'ichirō ระบบนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเรียนต่างชาติและในทางวิชาการ

นิฮงชิกิ

โรมาจิแบบนิฮงชิกิ ออกแบบมาเพื่อให้คนญี่ปุ่นเขียนภาษาของตนด้วยอักษรละติน แทนการถ่ายเสียงตามแบบเฮ็ปเบิร์น ระบบนี้ตามระบบอักษรญี่ปุ่นอย่างเคร่งครัด ไม่เปลี่ยนตามวิธีออกเสียง ระบบนี้เป็นมาตรฐาน ISO 3602 Strict

คุงเรชิกิ

โรมาจิแบบคุงเรชิกิ เป็นการดัดแปลงเล็กน้อยจากโรมาจิแบบนิฮงชิกิ โดยอักษร づ กับ ず ออกเสียง zu เหมือนกันในภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ ในทางกลับกัน นิฮงชิกิจะเขียน づ เป็น du และเขียน ず เป็น zu คุงเรชิกิเป็นมาตรฐานของทางการญี่ปุ่น และเป็นมาตรฐาน ISO 3602 คุงเรชิกิจะสอนที่โรงเรียนญี่ปุ่นในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

ตัวอย่าง


ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง ๆ

ความหมาย คันจิ/คานะ ฟูริงานะ โรมาจิ
เฮ็ปเบิร์น คุงเรชิกิ นิฮงชิกิ
โรมาจิ ローマ字 ローマじ rōmaji rômazi rōmazi
ภูเขาฟูจิ 富士山 ふじさん Fujisan Huzisan Huzisan
ชา お茶 おちゃ ocha otya otya
รัฐบาล 知事 ちじ chiji tizi tizi
ย่อขนาด 縮む ちぢむ chijimu tizimu tidimu
(ตอน) ต่อไป 続く つづく tsuzuku tuzuku tuduku


ความแตกต่างระหว่างระบบต่างๆ

ฮิรางานะ คาตากานะ เฮปเบิร์น นิฮงชิกิ คุงเรชิกิ สากล
a
i
u ɯ
e
o
ka
ki kʲi
ku
ke
ko
きゃ キャ kya kʲa
きゅ キュ kyu kʲɯ
きょ キョ kyo kʲo
sa
shi si ɕi
su
se
so
しゃ シャ sha sya ɕa
しゅ シュ shu syu ɕɯ
しょ ショ sho syo ɕo
ta
chi ti tɕi
tsu tu tsɯ
te
to
ちゃ チャ cha tya tɕa
ちゅ チュ chu tyu tɕɯ
ちょ チョ cho tyo tɕo
na
ni ɲi
nu
ne
no
にゃ ニャ nya ɲa
にゅ ニュ nyu ɲɯ
にょ ニョ nyo ɲo
ha
hi çi
fu hu ɸɯ
he
ho
ひゃ ヒャ hya ça
ひゅ ヒュ hyu çɯ
ひょ ヒョ hyo ço
ma
mi mʲi
mu
me
mo
みゃ ミャ mya mʲa
みゅ ミュ myu mʲɯ
みょ ミョ myo mʲo
ya ja
yu
yo jo
ra ɾa
ri ɾʲi
ru ɾɯ
re ɾe
ro ɾo
りゃ リャ rya ɾʲa
りゅ リュ ryu ɾʲu
りょ リョ ryo ɾʲo
wa wa~ɰa
i wi i
e we e
o wo o
n-n'(-m) n-n' m~n~ŋ~ɴ
ga
gi gʲi
gu
ge
go
ぎゃ ギャ gya gʲa
ぎゅ ギュ gyu gʲɯ
ぎょ ギョ gyo gʲo
za
ji zi ʑi~dʑi
zu
ze
zo
じゃ ジャ ja zya ʑa~dʑa
じゅ ジュ ju zyu ʑɯ~dʑɯ
じょ ジョ jo zyo ʑo~dʑo
da
ji di zi ʑi~dʑi
zu du zu
de
do
ぢゃ ヂャ ja dya zya ʑa~dʑa
ぢゅ ヂュ ju dyu zyu ʑɯ~dʑɯ
ぢょ ヂョ jo dyo zyo ʑo~dʑo
ba
bi bʲi
bu
be
bo
びゃ ビャ bya bʲa
びゅ ビュ byu bʲɯ
びょ ビョ byo bʲo
pa
pi pʲi
pu
pe
po
ぴゃ ピャ pya pʲa
ぴゅ ピュ pyu pʲɯ
ぴょ ピョ pyo pʲo
vu βɯ
คะนะ เฮปเบิร์น นิฮงชิกิ คุงเรชิกิ
うう ū û
おう, おお ō ô
shi si
しゃ sha sya
しゅ shu syu
しょ sho syo
ji zi
じゃ ja zya
じゅ ju zyu
じょ jo zyo
chi ti
tsu tu
ちゃ cha tya
ちゅ chu tyu
ちょ cho tyo
ji di zi
zu du zu
ぢゃ ja dya zya
ぢゅ ju dyu zyu
ぢょ jo dyo zyo
fu hu
i wi i
e we e
o wo o
n, n' ( m) n n'

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "文化庁 | 国語施策・日本語教育 | 国語施策情報 | 内閣告示・内閣訓令 | ローマ字のつづり方 | 訓令,告示制定文". www.bunka.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-10-27.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. "小学校学習指導要領解説:文部科学省:【国語編】小学校学習指導要領(平成29年告示)解説". 文部科学省ホームページ (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-10-28.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. Iwata, Kazunari; 岩田一成 (2018). "ローマ字 (the Roman alphabet)". Meikai Nihongogaku jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷. Tōkyō. p. 164. ISBN 978-4-385-13580-9. OCLC 1160201927.