ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Suisse"
บรรทัด 6: | บรรทัด 6: | ||
* กรณีพิพาท[[หมู่เกาะโอลันด์]] - หมู่เกาะนี้อยู่ตรงกลางระหว่างประเทศสวีแดนและฟินแลนด์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาสวีเดน แต่หมู่เกาะนี้ถูกจักรวรรดิรัสเซียยึดครองในปี ค.ศ. 1809 และรวมเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลฟินแลนด์ ต่อมาเมื่อจักรวรรดิรัสเซียล่มสลาย ฟินแลนด์จึงประกาศเอกราช และรวมหมู่เกาะนี้ไว้ในอาณาเขตของตน แต่ประชากรส่วนใหญ่อยากเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสวีเดน เมื่อปัญหาลุกลามในปี ค.ศ. 1921 สันนิบาตจึงเข้าไกล่เกลี่ยและตกลงว่ายอมให้หมู่เกาะโอลันด์เป็นอาณาเขตของฟินแลนด์ โดยมีข้อแม้ว่าชาวเกาะจะต้องได้รับการคุ้มครอง และบริเวณดังกล่าวจะต้องเป็นเขตปลอดทหาร กรณีพิพาทนี้ถือเป็นกรณีแรกที่สันนิบาตสามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสำเร็จ |
* กรณีพิพาท[[หมู่เกาะโอลันด์]] - หมู่เกาะนี้อยู่ตรงกลางระหว่างประเทศสวีแดนและฟินแลนด์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาสวีเดน แต่หมู่เกาะนี้ถูกจักรวรรดิรัสเซียยึดครองในปี ค.ศ. 1809 และรวมเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลฟินแลนด์ ต่อมาเมื่อจักรวรรดิรัสเซียล่มสลาย ฟินแลนด์จึงประกาศเอกราช และรวมหมู่เกาะนี้ไว้ในอาณาเขตของตน แต่ประชากรส่วนใหญ่อยากเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสวีเดน เมื่อปัญหาลุกลามในปี ค.ศ. 1921 สันนิบาตจึงเข้าไกล่เกลี่ยและตกลงว่ายอมให้หมู่เกาะโอลันด์เป็นอาณาเขตของฟินแลนด์ โดยมีข้อแม้ว่าชาวเกาะจะต้องได้รับการคุ้มครอง และบริเวณดังกล่าวจะต้องเป็นเขตปลอดทหาร กรณีพิพาทนี้ถือเป็นกรณีแรกที่สันนิบาตสามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสำเร็จ |
||
[[ไฟล์:Oberschlesien 1921.png|thumb|right|การแบ่งดินแดนไซลีเซียเหนือออกเป็นสองส่วน |
|||
{{legend|#ffc0cb|เขตแดนเยอรมนี}} |
|||
{{legend|#ffa500|ไซลีเซียเหนือที่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี}} |
|||
{{legend|#00ff00|เขตแดนโปแลนด์}} |
|||
{{legend|#adff2f|ไซลีเซียเหนือที่เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์}} |
|||
]] |
|||
* ปัญหาเรื่องดินแดน[[ไซลีเซียเหนือ]] - [[ประเทศโปแลนด์]]ถูกสร้างขึ้นมาหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อให้ผู้มีเชื้อชาติโปลได้มีประเทศเป็นของตนเอง หลังจากถูกชาติอื่นปกครองมานาน ประเทศโปแลนด์มีพรมแดนติดกับเยอรมนี และมีภูมิภาคหนึ่งชื่อว่าไซลีเซียเหนือ ซึ่งมีประชากรเชื้อชาติเยอรมันกับโปลคละกัน เนื่องด้วยกลุ่มชาวโปลมีความกังวลว่าตนจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศโปแลนด์ใหม่ และจะต้องรวมเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีเหมือนเดิมแทน จึงเกิดจลาจลขึ้นสองครั้ง จึงมีการ[[การลงประชามติไซลีเซียเหนือ|จัดทำประชามติ]]ขึ้นในปี 1921 เพื่อตัดสิน ผลออกมาว่าประชากรราว 60% ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี แต่กลุ่มโปลไม่ยอมรับและก่อจลาจลครั้งที่สาม สันนิบาตชาติจึงเข้ามาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และตกลงกันว่าบริเวณที่ประชากรส่วนใหญ่ลงคะแนนต้องการเข้าเป็นเยอรมันในประชามติก็ให้เข้า ส่วนบริเวณที่ประชากรลงคะแนนให้โปแลนด์ก็ให้เป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์ แม้เยอรมันจะได้พื้นที่ในไซลีเซียเหนือมากกว่าโปแลนด์ แต่โปแลนด์กลับได้บริเวณที่มีทรัพยกรธรรมชาติและอุตสาหกรรมมากกว่า ข้อตกลงนี้ส่งผลให้เกิดสันติภาพในบริเวณจนกระทั่งเริ่มสงครามโลกครั้งที่สอง |
* ปัญหาเรื่องดินแดน[[ไซลีเซียเหนือ]] - [[ประเทศโปแลนด์]]ถูกสร้างขึ้นมาหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อให้ผู้มีเชื้อชาติโปลได้มีประเทศเป็นของตนเอง หลังจากถูกชาติอื่นปกครองมานาน ประเทศโปแลนด์มีพรมแดนติดกับเยอรมนี และมีภูมิภาคหนึ่งชื่อว่าไซลีเซียเหนือ ซึ่งมีประชากรเชื้อชาติเยอรมันกับโปลคละกัน เนื่องด้วยกลุ่มชาวโปลมีความกังวลว่าตนจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศโปแลนด์ใหม่ และจะต้องรวมเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีเหมือนเดิมแทน จึงเกิดจลาจลขึ้นสองครั้ง จึงมีการ[[การลงประชามติไซลีเซียเหนือ|จัดทำประชามติ]]ขึ้นในปี 1921 เพื่อตัดสิน ผลออกมาว่าประชากรราว 60% ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี แต่กลุ่มโปลไม่ยอมรับและก่อจลาจลครั้งที่สาม สันนิบาตชาติจึงเข้ามาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และตกลงกันว่าบริเวณที่ประชากรส่วนใหญ่ลงคะแนนต้องการเข้าเป็นเยอรมันในประชามติก็ให้เข้า ส่วนบริเวณที่ประชากรลงคะแนนให้โปแลนด์ก็ให้เป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์ แม้เยอรมันจะได้พื้นที่ในไซลีเซียเหนือมากกว่าโปแลนด์ แต่โปแลนด์กลับได้บริเวณที่มีทรัพยกรธรรมชาติและอุตสาหกรรมมากกว่า ข้อตกลงนี้ส่งผลให้เกิดสันติภาพในบริเวณจนกระทั่งเริ่มสงครามโลกครั้งที่สอง |
||
บรรทัด 14: | บรรทัด 21: | ||
* [[จังหวัดโมซุล]] - เป็นข้อพิพาทระหว่างอิรักและตุรกีเหนือจังหวัดโมซุลในปี 1926 ซึ่งเคยเป็นจังหวัดหนึ่งของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]มาก่อน ตุรกีอ้างสิทธิเหนือจังหวัดนี้ด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ส่วนบริเตนก็สนับสนุนให้เป็นของอิรักเพราะตนเป็นผู้ได้รับมอบอาณัติเหนืออิรัก สันนิบาตส่งคณะกรรมการไปศึกษาพบว่าประชากรไม่มีความรู้สึกอยากเป็นส่วนหนึ่งของตุรกีหรืออิรัก แต่ถ้าให้เลือกจะเลือกเป็นส่วนหนึ่งของอิรัก ในปี 1925 คณะมนตรีสันนิบาตตัดสินให้จังหวัดโมซุลเป็นดินแดนของอิรัก แม้จะมีข้อขัดแย้งอยู่บ้าง แต่ในที่สุดแล้วทั้งบริเตน อิรัก และตุรกี ต่างก็เซ็นสนธิสัญญายอมรับผลการตัดสินของสันนิบาตชาติ |
* [[จังหวัดโมซุล]] - เป็นข้อพิพาทระหว่างอิรักและตุรกีเหนือจังหวัดโมซุลในปี 1926 ซึ่งเคยเป็นจังหวัดหนึ่งของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]มาก่อน ตุรกีอ้างสิทธิเหนือจังหวัดนี้ด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ส่วนบริเตนก็สนับสนุนให้เป็นของอิรักเพราะตนเป็นผู้ได้รับมอบอาณัติเหนืออิรัก สันนิบาตส่งคณะกรรมการไปศึกษาพบว่าประชากรไม่มีความรู้สึกอยากเป็นส่วนหนึ่งของตุรกีหรืออิรัก แต่ถ้าให้เลือกจะเลือกเป็นส่วนหนึ่งของอิรัก ในปี 1925 คณะมนตรีสันนิบาตตัดสินให้จังหวัดโมซุลเป็นดินแดนของอิรัก แม้จะมีข้อขัดแย้งอยู่บ้าง แต่ในที่สุดแล้วทั้งบริเตน อิรัก และตุรกี ต่างก็เซ็นสนธิสัญญายอมรับผลการตัดสินของสันนิบาตชาติ |
||
* [[วิลนีอุส|กรุงวิลนีอุส]] - |
|||
After the First World War, Poland and Lithuania both regained their independence but soon became immersed in territorial disputes.[99] During the Polish–Soviet War, Lithuania signed the Moscow Peace Treaty with the Soviet Union that laid out Lithuania's frontiers. This agreement gave Lithuanians control of the city of Vilnius (Lithuanian: Vilnius, Polish: Wilno), the old Lithuanian capital, but a city with a majority Polish population.[100] This heightened tension between Lithuania and Poland and led to fears that they would resume the Polish–Lithuanian War, and on 7 October 1920, the League negotiated the Suwałki Agreement establishing a cease-fire and a demarcation line between the two nations.[99] On 9 October 1920, General Lucjan Żeligowski, commanding a Polish military force in contravention of the Suwałki Agreement, took the city and established the Republic of Central Lithuania.[99] |
|||
After a request for assistance from Lithuania, the League Council called for Poland's withdrawal from the area. The Polish government indicated they would comply, but instead reinforced the city with more Polish troops.[101] This prompted the League to decide that the future of Vilnius should be determined by its residents in a plebiscite and that the Polish forces should withdraw and be replaced by an international force organized by the League. However, the plan was met with resistance in Poland, Lithuania, and the Soviet Union, which opposed any international force in Lithuania. In March 1921, the League abandoned plans for the plebiscite.[102] After unsuccessful proposals by Paul Hymans to create a federation between Poland and Lithuania, Vilnius and the surrounding area was formally annexed by Poland in March 1922. After Lithuania took over the Klaipėda Region, the Allied Conference set the frontier between Lithuania and Poland, leaving Vilnius within Poland, on 14 March 1923.[103] Lithuanian authorities refused to accept the decision, and officially remained in a state of war with Poland until 1927.[104] It was not until the 1938 Polish ultimatum that Lithuania restored diplomatic relations with Poland and thus de facto accepted the borders.[105] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:31, 27 พฤศจิกายน 2554
ข้อพิพาทเรื่องดินแดน
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมีเรื่องต่าง ๆ ที่จะต้องสะสางจำนวนมาก รวมทั้งเรื่องเส้นแบ่งพรมแดนที่แน่นอนของประเทศต่าง ๆ ซึ่งถูกจัดสรรโดยประเทศผู้ชนะสงคราม ทำให้ในช่วงแรกนั้นสันนิบาตจึงไม่ได้มีบทบาทมากนัก
ทศวรรษที่ 1920
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1920 สันนิบาตขยายตัวใหญ่ขึ้นและกลายมาเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมนานาชาติ ดูได้จากการที่ประเทศผู้ไม่เป็นสมาชิกของสันนิบาต เช่น สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ให้ความร่วมมือกับทางสันนิบาตมากขึ้น ประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี และสหราชอาณาจักรต่างก็ดำเนินกิจการการทูตผ่านทางสันนิบาต และใช้สันนิบาตเป็นเครื่องมือพัฒนาความสัมพันธ์ เหตุการณ์พิพาทที่สันนิบาตมีส่วนเกี่ยวข้องในทศวรรษนี้ ได้แก่
- กรณีพิพาทหมู่เกาะโอลันด์ - หมู่เกาะนี้อยู่ตรงกลางระหว่างประเทศสวีแดนและฟินแลนด์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาสวีเดน แต่หมู่เกาะนี้ถูกจักรวรรดิรัสเซียยึดครองในปี ค.ศ. 1809 และรวมเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลฟินแลนด์ ต่อมาเมื่อจักรวรรดิรัสเซียล่มสลาย ฟินแลนด์จึงประกาศเอกราช และรวมหมู่เกาะนี้ไว้ในอาณาเขตของตน แต่ประชากรส่วนใหญ่อยากเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสวีเดน เมื่อปัญหาลุกลามในปี ค.ศ. 1921 สันนิบาตจึงเข้าไกล่เกลี่ยและตกลงว่ายอมให้หมู่เกาะโอลันด์เป็นอาณาเขตของฟินแลนด์ โดยมีข้อแม้ว่าชาวเกาะจะต้องได้รับการคุ้มครอง และบริเวณดังกล่าวจะต้องเป็นเขตปลอดทหาร กรณีพิพาทนี้ถือเป็นกรณีแรกที่สันนิบาตสามารถไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสำเร็จ
- ปัญหาเรื่องดินแดนไซลีเซียเหนือ - ประเทศโปแลนด์ถูกสร้างขึ้นมาหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อให้ผู้มีเชื้อชาติโปลได้มีประเทศเป็นของตนเอง หลังจากถูกชาติอื่นปกครองมานาน ประเทศโปแลนด์มีพรมแดนติดกับเยอรมนี และมีภูมิภาคหนึ่งชื่อว่าไซลีเซียเหนือ ซึ่งมีประชากรเชื้อชาติเยอรมันกับโปลคละกัน เนื่องด้วยกลุ่มชาวโปลมีความกังวลว่าตนจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศโปแลนด์ใหม่ และจะต้องรวมเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีเหมือนเดิมแทน จึงเกิดจลาจลขึ้นสองครั้ง จึงมีการจัดทำประชามติขึ้นในปี 1921 เพื่อตัดสิน ผลออกมาว่าประชากรราว 60% ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี แต่กลุ่มโปลไม่ยอมรับและก่อจลาจลครั้งที่สาม สันนิบาตชาติจึงเข้ามาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และตกลงกันว่าบริเวณที่ประชากรส่วนใหญ่ลงคะแนนต้องการเข้าเป็นเยอรมันในประชามติก็ให้เข้า ส่วนบริเวณที่ประชากรลงคะแนนให้โปแลนด์ก็ให้เป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์ แม้เยอรมันจะได้พื้นที่ในไซลีเซียเหนือมากกว่าโปแลนด์ แต่โปแลนด์กลับได้บริเวณที่มีทรัพยกรธรรมชาติและอุตสาหกรรมมากกว่า ข้อตกลงนี้ส่งผลให้เกิดสันติภาพในบริเวณจนกระทั่งเริ่มสงครามโลกครั้งที่สอง
- พรมแดนของประเทศแอลเบเนีย - เป็นสิ่งที่คั่งค้างตั้งแต่การประชุมสันติภาพที่ปารีสในปี 1919 ทำให้แอลเบเนียมีสภาพดังนี้คือ กองทัพกรีกปฏิบัติการทางทหารทางตอนใต้ของอัลเบเนีย ขณะที่กองกำลังของยูโกสลาเวียเข้ามาสู้กับชาวเผ่าทางภาคเหนือ สันนิบาตจึงเข้ามาตัดสินให้พรมแดนของอัลเบเนียเป็นดังเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แต่มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยที่เป็นประโยชน์ต่อยูโกสลาเวีย
- เหตุการณ์ที่เกาะคอร์ฟู - เกิดขึ้นในปี 1923 ในระหว่างที่สันนิบาตชาติตัดสินพรมแดนใหม่ระหว่างอัลเบเนียกับกรีซ พลทหารห้านายชาวอิตาลีได้รับมอบหมายให้เข้ามาดูสถานการณ์ แต่โดนลอบสังหารเสียก่อน ส่งผลให้ผู้นำอิตาลี มุสโสลินี โกรธมาก และเรียกร้องให้รัฐบาลกรีซจ่ายค่าชดใช้เสียหาย แต่รัฐบาลกรีกปฏิเสธและให้เหตุผลว่าจะต้องพิสูจน์ตัวผู้กระทำผิดว่าเป็นชาวกรีกให้ได้เสียก่อน มุสโสลินีจึงส่งทหารเข้ามายึดเกาะคอร์ฟูและสังหารพลเมืองสิบห้าคน รัฐบาลกรีซขอความช่วยเหลือจากสันนิบาตชาติ แต่เนื่องจากอิตาลีเป็นสมาชิกที่มีอิทธิพลของสันนิบาต จึงไม่สามารถทำอะไรได้ และในที่สุดสันนิบาตแนะนำให้กรีซจ่ายเงินชดใช้แก่อิตาลี แม้ว่าไม่สามารถพบตัวผู้กระทำผิด จากนั้นอิตาลีจึงถอนกำลังออกจากเกาะ
- จังหวัดโมซุล - เป็นข้อพิพาทระหว่างอิรักและตุรกีเหนือจังหวัดโมซุลในปี 1926 ซึ่งเคยเป็นจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันมาก่อน ตุรกีอ้างสิทธิเหนือจังหวัดนี้ด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ส่วนบริเตนก็สนับสนุนให้เป็นของอิรักเพราะตนเป็นผู้ได้รับมอบอาณัติเหนืออิรัก สันนิบาตส่งคณะกรรมการไปศึกษาพบว่าประชากรไม่มีความรู้สึกอยากเป็นส่วนหนึ่งของตุรกีหรืออิรัก แต่ถ้าให้เลือกจะเลือกเป็นส่วนหนึ่งของอิรัก ในปี 1925 คณะมนตรีสันนิบาตตัดสินให้จังหวัดโมซุลเป็นดินแดนของอิรัก แม้จะมีข้อขัดแย้งอยู่บ้าง แต่ในที่สุดแล้วทั้งบริเตน อิรัก และตุรกี ต่างก็เซ็นสนธิสัญญายอมรับผลการตัดสินของสันนิบาตชาติ
After the First World War, Poland and Lithuania both regained their independence but soon became immersed in territorial disputes.[99] During the Polish–Soviet War, Lithuania signed the Moscow Peace Treaty with the Soviet Union that laid out Lithuania's frontiers. This agreement gave Lithuanians control of the city of Vilnius (Lithuanian: Vilnius, Polish: Wilno), the old Lithuanian capital, but a city with a majority Polish population.[100] This heightened tension between Lithuania and Poland and led to fears that they would resume the Polish–Lithuanian War, and on 7 October 1920, the League negotiated the Suwałki Agreement establishing a cease-fire and a demarcation line between the two nations.[99] On 9 October 1920, General Lucjan Żeligowski, commanding a Polish military force in contravention of the Suwałki Agreement, took the city and established the Republic of Central Lithuania.[99] After a request for assistance from Lithuania, the League Council called for Poland's withdrawal from the area. The Polish government indicated they would comply, but instead reinforced the city with more Polish troops.[101] This prompted the League to decide that the future of Vilnius should be determined by its residents in a plebiscite and that the Polish forces should withdraw and be replaced by an international force organized by the League. However, the plan was met with resistance in Poland, Lithuania, and the Soviet Union, which opposed any international force in Lithuania. In March 1921, the League abandoned plans for the plebiscite.[102] After unsuccessful proposals by Paul Hymans to create a federation between Poland and Lithuania, Vilnius and the surrounding area was formally annexed by Poland in March 1922. After Lithuania took over the Klaipėda Region, the Allied Conference set the frontier between Lithuania and Poland, leaving Vilnius within Poland, on 14 March 1923.[103] Lithuanian authorities refused to accept the decision, and officially remained in a state of war with Poland until 1927.[104] It was not until the 1938 Polish ultimatum that Lithuania restored diplomatic relations with Poland and thus de facto accepted the borders.[105]