ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน"
AvocatoBot (คุย | ส่วนร่วม) ล r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: mk:Општа кралска тајландска транскрипција |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 178: | บรรทัด 178: | ||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
* [http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/416_2157.pdf ต้นฉบับประกาศของราชบัณฑิตยสถาน] |
* [http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/416_2157.pdf ต้นฉบับประกาศของราชบัณฑิตยสถาน] |
||
* {{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=116|issue=37 ง|pages=11|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/D/037/11.PDF|date=1999-05-11|language=Thai}} |
* {{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=116|issue=37 ง|pages=11|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/D/037/11.PDF|date=1999-05-11|language=Thai}} |
||
บรรทัด 190: | บรรทัด 189: | ||
* [http://www.arts.chula.ac.th/%7Eling/tts/ โปรแกรมถอดอักษรไทย]สำหรับวินโดวส์ โดย ผศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล |
* [http://www.arts.chula.ac.th/%7Eling/tts/ โปรแกรมถอดอักษรไทย]สำหรับวินโดวส์ โดย ผศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล |
||
[[หมวดหมู่:การ |
[[หมวดหมู่:การถอดเป็นอักษรโรมัน|ทไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย]] |
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:ราชบัณฑิตยสถาน]] |
[[หมวดหมู่:ราชบัณฑิตยสถาน]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:51, 15 สิงหาคม 2555
การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่างๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542
ระบบของราชบัณฑิตยสถานเป็นระบบที่นิยมใช้ในการเขียนคำทับศัพท์ระบบหนึ่งในภาษาไทย
ตารางเทียบตัวอักษร
พยัญชนะ | สระ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
|
การวิพากษ์วิจารณ์
การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน มีจุดประสงค์เขียนไว้ในประกาศว่า เพื่อให้อ่านคำไทยในตัวอักษรโรมันได้ใกล้เคียงกับคำเดิม แต่ก็ได้รับการวิพากษ์ว่ายังไม่ดีเพียงพอสำหรับชาวต่างชาติในการอ่านภาษาไทย[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจาก
- ไม่มีสัญลักษณ์หรือระบบแทนเสียงวรรณยุกต์
- สระสั้น และสระยาว ใช้ตัวอักษรเดียวกัน เช่น อะ และ อา ใช้ ตัวอักษร a
- เสียง /pʰ/ (ผ, พ, ภ) ถูกแทนด้วย ตัวอักษร ph ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /f/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ เช่น Phuket (ภูเก็ต) อาจอ่านผิดเป็น "ฟักอิต" (พ้องกับ fuck it ในภาษาอังกฤษ)
- เสียงสระ "โอะ โอ" กับ "เอาะ ออ" ใช้ตัวอักษร o ตัวเดียวกัน เช่น คำว่า "พล" และ "พร" เขียนเหมือนกันเป็น phon ถูกอ่านผิดเป็น "ฝน"
- เสียง /tʰ/ (ฐ, ฑ, ฒ, ถ, ท, ธ) ถูกแทนด้วย ตัวอักษร th ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /θ/ หรือ /ð/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ เช่น Thewet (เทเวศร์) อาจอ่านผิดเป็น "เดอะเว็ท"
นอกจากนี้ ถึงแม้ระบบของราชบัณฑิตยสถานจะที่ใช้ในเอกสารราชการเกือบทั้งหมด แต่ก็มีการเขียนคำทับศัพท์ในรูปแบบอื่น เพื่อหลีกเลี่ยงเสียงที่เพี้ยนไปจากเสียงภาษาไทย และเลี่ยงความหมายที่ไม่ดีในภาษาอังกฤษและภาษาอื่น เช่นคำว่า "ธง" หรือ "ทอง" เมื่อทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตทั้งสองคำจะสะกดได้คำว่า "thong" ซึ่งในภาษาอังกฤษหมายถึง ธอง (กางเกงชั้นในประเภทหนึ่ง) จึงเลี่ยงไปใช้คำว่า "tong" แทน
อ้างอิง
- ต้นฉบับประกาศของราชบัณฑิตยสถาน
- "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา (ภาษาThai). 116 (37 ง): 11. 1999-05-11.
{{cite journal}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- thai2english.com ถอดอักษรไทยออนไลน์ ตามการอ่านเสียง, ตามหลักราชบัณฑิตฯ, ตามสัทอักษรสากล ฯลฯ
- โปรแกรมถอดอักษรไทยสำหรับวินโดวส์ โดย ผศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล