ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"
แก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูล (ข้อมูลบางส่วนมาจาก wikipedia ภาษาญี่ปุ่น บางส่วนมาจากหนังสือหรือเอกสารที่มี) |
|||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ต้องการอ้างอิง}} |
{{ต้องการอ้างอิง}} |
||
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}} |
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}} |
||
'''โรมาจิ''' ({{ญี่ปุ่น| ローマ字|Rōmaji}}) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ({{ญี่ปุ่น|訓令式|Kunrei-shiki|คุนเรชิกิ}}) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ({{ญี่ปุ่น|ヘボン式|Hebon-shiki|เฮบงชิกิ}}) '''ระบบนิฮง''' ({{ญี่ปุ่น|日本式|Nihon-shiki|นิฮงชิกิ}}) เป็นต้น |
|||
'''โรมาจิ''' ({{ญี่ปุ่น| ローマ字|Rōmaji}}) เป็น[[อักษรโรมัน]]ที่ใช้ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ [[คานะ]]และ[[คันจิ]]เป็นหลัก โรมาจิเป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บน[[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]]เป็นโรมาจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่าง ๆ |
|||
ในปี ค.ศ. 1954 ซึ่งตรงกับ[[โชวะ (ศักราช)|ปีโชวะ]]ที่ 29 รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ({{ญี่ปุ่น|ローマ字のつづり方|Rōmaji no tsuzurikata}}) ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่มีในระบบคุนเร โดยรัฐบาลญี่ปุ่นกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref> |
|||
โรมาจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัย[[สงครามโลก]] ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับ[[ประถมศึกษา]] สำหรับการเขียนและการอ่านโรมาจิ |
|||
นอกจากนี้ ใน "'''แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา'''" ({{ญี่ปุ่น|小学校学習指導要領|Shōgakkō gakushū shidō yōryō}}) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์<ref>{{Cite book|last=Iwata|first=Kazunari|url=https://www.worldcat.org/oclc/1160201927|title=Meikai Nihongogaku jiten|last2=岩田一成|date=|others=Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷|year=2018|isbn=978-4-385-13580-9|location=Tōkyō|pages=164|language=ja|chapter=ローマ字 (the Roman alphabet)|oclc=1160201927}}</ref> |
|||
== อักขรวิธี == |
|||
=== สระ === |
|||
เสียงสระ「ア、イ、ウ、エ、オ」เขียนเป็น "a, i, u, e, o" ตามลำดับ |
|||
=== พยัญชนะและเสียงควบกล้ำ === |
|||
โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะของอักษรวรรค 「カ、サ、タ、ナ、ハ、マ、ヤ、ラ、ワ、ガ、ザ、ダ、バ、パ」ให้เขียนเป็น "k, s, t, n, h, m, y, r, w, g, z, d, b, p" ตามลำดับ ส่วนเสียงควบกล้ำให้เขียนเป็น "พยัญชนะ+y+สระ" เช่น 「キャ」→ "kya" |
|||
ระบบเฮ็ปเบิร์นและระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทน「シ」ด้วย "shi" แทน「チ」ด้วย "chi" แทน「ツ」ด้วย "tsu" แทน「フ」ด้วย "fu" แทน「ジ」ด้วย "ji" เสียงควบกล้ำของวรรค「サ」แทนด้วย "sh-" ทั้งหมด เสียงควบกล้ำของวรรค「タ」แทนด้วย "ch-" ทั้งหมด และเสียงควบกล้ำของวรรค「ザ」แทนด้วย "j-" ทั้งหมด เนื่องจากคำนึงถึงความใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษซึ่งเป็น[[ภาษาแม่]]ของ[[เจมส์ เคอร์ทิส เฮ็ปเบิร์น]] (James Curtis Hepburn) |
|||
ระบบนิฮงแทน「ヂ」「ヅ」「ヲ」ด้วย "di" "du" "wo" อิงตาม[[อักขรวิธี]]โบราณ แต่เนื่องจากใน[[ภาษากลาง]]ไม่ได้แยกความต่างระหว่าง「ヂ」กับ「ジ」, 「ヅ」กับ「ズ」และ「ヲ」กับ「オ」อีกต่อไป ระบบคุนเรจึงให้ "zi" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 เช่นเดียวกับระบบเฮ็ปเบิร์นที่ให้ "ji" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 |
|||
=== พยัญชนะท้ายนาสิก === |
|||
โดยหลักการแล้ว [[ภาษาญี่ปุ่น#เสียงพยัญชนะท้ายนาสิก_/N/|เสียงพยัญชนะท้ายนาสิก「ん」]]ให้เขียนเป็น "n" ยกเว้นเฉพาะระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าที่กำหนดให้เขียนเป็น "m" เมื่ออยู่หน้าอักษร "b, p, m" |
|||
หากหลัง「ん」เป็นสระหรืออักษรวรรค「ヤ」ในระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าจะเติม[[ยัติภังค์|เครื่องหมายยัติภังค์]] ส่วนระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงจะเติม[[อะพอสทรอฟี|เครื่องหมายอะพอสทรอฟี]] เพื่อป้องกันความสับสนที่จะอ่านเป็นอักษรวรรค「ナ」 |
|||
ตัวอย่าง: shin'ai({{Ruby-ja|親愛|しんあい}}) ≠ shinai({{Ruby-ja|市内|しない}}), shin'yō({{Ruby-ja|信用|しんよう}}) ≠ shinyō({{Ruby-ja|屎尿|しにょう}}) |
|||
=== พยัญชนะซ้ำ === |
|||
โดยหลักการแล้ว ให้ซ้ำพยัญชนะที่อยู่ก่อนหน้า[[ภาษาญี่ปุ่น#เสียงพยัญชนะซ้ำ_/Q/|เสียงพยัญชนะซ้ำ「っ」]] มีข้อยกเว้นเฉพาะในระบบเฮ็ปเบิร์น (ทั้งแบบเก่าและฉบับปรับปรุง) ที่ให้ให้ "t" เมื่อตามด้วย "ch" เช่น "ma<u>tc</u>ha" สำหรับเสียงพยัญชนะซ้ำกรณีที่ปรากฏท้ายคำ เช่น「あっ」「それっ」ไม่มีระบบใดที่กำหนดวิธีเขียนไว้ |
|||
=== เสียงยาว === |
|||
* ระบบคุนเรเติมเครื่องหมายเซอร์คัมเฟล็กซ์บนสระ "'''â, î, û, ê, ô'''" เพื่อแสดงเสียงสระยาว เช่น Tôkyô({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) |
|||
* ระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าแทนเสียงสระยาวของ "a, i, u, e, o" ด้วย "'''aa, ii, ū, ee, ō'''" ตามลำดับ และระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทนด้วย "'''ā, ii, ū, ē, ō'''" ตามลำดับ เช่น Tōkyō({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) |
|||
* ไม่ปรากฏการใช้สัญลักษณ์พิเศษแสดงเสียงยาวในระบบนิฮง |
|||
* ในการใช้งานจริง บางครั้งอาจจะละสัญลักษณ์แสดงเสียงยาวไป เช่น Tokyo({{Ruby-ja|東京|とうきょう}}) และบางครั้งอาจพบการใช้อักษร "h" ในการแสดงเสียงยาวของ /o/ เช่น Ohno({{Ruby-ja|大野|おおの}}) |
|||
=== คำช่วย === |
|||
คำช่วย「は」「へ」「を」 ทั้งระบบคุนเรและระบบเฮ็ปเบิร์นเขียนด้วย「わ (wa)」「え (e)」「お (o)」ตามลำดับ แต่อาจพบการเขียนเป็น「は (ha)」「へ (he)」「を (wo)」ได้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการสะท้อนรูปเขียนของอักษรคานะ |
|||
โรมาจิในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ [[นิฮงชิกิ]] (日本式) แบบดั้งเดิม, [[คุงเรชิกิ]] (訓令式) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และ[[เฮ็ปเบิร์น]]หรือเฮบงชิกิ (ヘボン式) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน |
|||
==ระบบปัจจุบัน== |
==ระบบปัจจุบัน== |
||
===เฮ็ปเบิร์น=== |
===เฮ็ปเบิร์น=== |
||
บรรทัด 330: | บรรทัด 363: | ||
* [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น]] |
* [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น]] |
||
== อ้างอิง == |
|||
{{รายการอ้างอิง}} |
|||
[[หมวดหมู่:ภาษาญี่ปุ่น]] |
[[หมวดหมู่:ภาษาญี่ปุ่น]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:46, 27 ตุลาคม 2564
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
การเขียนภาษาญี่ปุ่น |
---|
องค์ประกอบ |
การใช้งาน |
ถอดอักษรเป็นโรมัน |
โรมาจิ (ญี่ปุ่น: ローマ字; โรมาจิ: Rōmaji) หมายถึง อักษรโรมัน (อักษรละติน) ที่ใช้แทนอักษรคานะในภาษาญี่ปุ่นตามระบบการถอดเป็นอักษรโรมัน (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ ระบบคุนเร (ญี่ปุ่น: 訓令式; โรมาจิ: Kunrei-shiki; ทับศัพท์: คุนเรชิกิ) ระบบเฮ็ปเบิร์น (ญี่ปุ่น: ヘボン式; โรมาจิ: Hebon-shiki; ทับศัพท์: เฮบงชิกิ) ระบบนิฮง (ญี่ปุ่น: 日本式; โรมาจิ: Nihon-shiki; ทับศัพท์: นิฮงชิกิ) เป็นต้น
ในปี ค.ศ. 1954 ซึ่งตรงกับปีโชวะที่ 29 รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน" (ญี่ปุ่น: ローマ字のつづり方; โรมาจิ: Rōmaji no tsuzurikata) ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่มีในระบบคุนเร โดยรัฐบาลญี่ปุ่นกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต[1]
นอกจากนี้ ใน "แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา" (ญี่ปุ่น: 小学校学習指導要領; โรมาจิ: Shōgakkō gakushū shidō yōryō) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์[2]
อักขรวิธี
สระ
เสียงสระ「ア、イ、ウ、エ、オ」เขียนเป็น "a, i, u, e, o" ตามลำดับ
พยัญชนะและเสียงควบกล้ำ
โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะของอักษรวรรค 「カ、サ、タ、ナ、ハ、マ、ヤ、ラ、ワ、ガ、ザ、ダ、バ、パ」ให้เขียนเป็น "k, s, t, n, h, m, y, r, w, g, z, d, b, p" ตามลำดับ ส่วนเสียงควบกล้ำให้เขียนเป็น "พยัญชนะ+y+สระ" เช่น 「キャ」→ "kya"
ระบบเฮ็ปเบิร์นและระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทน「シ」ด้วย "shi" แทน「チ」ด้วย "chi" แทน「ツ」ด้วย "tsu" แทน「フ」ด้วย "fu" แทน「ジ」ด้วย "ji" เสียงควบกล้ำของวรรค「サ」แทนด้วย "sh-" ทั้งหมด เสียงควบกล้ำของวรรค「タ」แทนด้วย "ch-" ทั้งหมด และเสียงควบกล้ำของวรรค「ザ」แทนด้วย "j-" ทั้งหมด เนื่องจากคำนึงถึงความใกล้เคียงกับการออกเสียงภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาแม่ของเจมส์ เคอร์ทิส เฮ็ปเบิร์น (James Curtis Hepburn)
ระบบนิฮงแทน「ヂ」「ヅ」「ヲ」ด้วย "di" "du" "wo" อิงตามอักขรวิธีโบราณ แต่เนื่องจากในภาษากลางไม่ได้แยกความต่างระหว่าง「ヂ」กับ「ジ」, 「ヅ」กับ「ズ」และ「ヲ」กับ「オ」อีกต่อไป ระบบคุนเรจึงให้ "zi" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」 เช่นเดียวกับระบบเฮ็ปเบิร์นที่ให้ "ji" แทนทั้ง「ヂ」และ「ジ」, "zu" แทนทั้ง「ヅ」และ「ズ」, "o" แทนทั้ง 「ヲ」และ「オ」
พยัญชนะท้ายนาสิก
โดยหลักการแล้ว เสียงพยัญชนะท้ายนาสิก「ん」ให้เขียนเป็น "n" ยกเว้นเฉพาะระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าที่กำหนดให้เขียนเป็น "m" เมื่ออยู่หน้าอักษร "b, p, m"
หากหลัง「ん」เป็นสระหรืออักษรวรรค「ヤ」ในระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าจะเติมเครื่องหมายยัติภังค์ ส่วนระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงจะเติมเครื่องหมายอะพอสทรอฟี เพื่อป้องกันความสับสนที่จะอ่านเป็นอักษรวรรค「ナ」
ตัวอย่าง: shin'ai(親愛) ≠ shinai(市内), shin'yō(信用) ≠ shinyō(屎尿)
พยัญชนะซ้ำ
โดยหลักการแล้ว ให้ซ้ำพยัญชนะที่อยู่ก่อนหน้าเสียงพยัญชนะซ้ำ「っ」 มีข้อยกเว้นเฉพาะในระบบเฮ็ปเบิร์น (ทั้งแบบเก่าและฉบับปรับปรุง) ที่ให้ให้ "t" เมื่อตามด้วย "ch" เช่น "matcha" สำหรับเสียงพยัญชนะซ้ำกรณีที่ปรากฏท้ายคำ เช่น「あっ」「それっ」ไม่มีระบบใดที่กำหนดวิธีเขียนไว้
เสียงยาว
- ระบบคุนเรเติมเครื่องหมายเซอร์คัมเฟล็กซ์บนสระ "â, î, û, ê, ô" เพื่อแสดงเสียงสระยาว เช่น Tôkyô(東京)
- ระบบเฮ็ปเบิร์นแบบเก่าแทนเสียงสระยาวของ "a, i, u, e, o" ด้วย "aa, ii, ū, ee, ō" ตามลำดับ และระบบเฮ็ปเบิร์นฉบับปรับปรุงแทนด้วย "ā, ii, ū, ē, ō" ตามลำดับ เช่น Tōkyō(東京)
- ไม่ปรากฏการใช้สัญลักษณ์พิเศษแสดงเสียงยาวในระบบนิฮง
- ในการใช้งานจริง บางครั้งอาจจะละสัญลักษณ์แสดงเสียงยาวไป เช่น Tokyo(東京) และบางครั้งอาจพบการใช้อักษร "h" ในการแสดงเสียงยาวของ /o/ เช่น Ohno(大野)
คำช่วย
คำช่วย「は」「へ」「を」 ทั้งระบบคุนเรและระบบเฮ็ปเบิร์นเขียนด้วย「わ (wa)」「え (e)」「お (o)」ตามลำดับ แต่อาจพบการเขียนเป็น「は (ha)」「へ (he)」「を (wo)」ได้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการสะท้อนรูปเขียนของอักษรคานะ
ระบบปัจจุบัน
เฮ็ปเบิร์น
โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์น จะออกเสียงสระตามกลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นวิธีแสดงการสะกดคำในภาษาญี่ปุ่นอย่างเป็นธรรมชาติ และเคยเป็นมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา แต่ถูกยกเลิก ณ วันที่ ๖ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๙๔ โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นเป็นที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน
โรมาจิแบบเฮ็ปเบิร์นฉบับแก้ไข ใช้ขีดข้างบนสระเพื่อแสดงสระเสียงยาว และใช้เครื่องหมายอะพอสทรอฟีเพื่อแบ่งพยางค์ในบางกรณี เช่น じゅんいちろう-Jun'ichirō ระบบนี้เป็นที่นิยมในหมู่่นักเรียนต่างชาติและในทางวิชาการ
นิฮงชิกิ
โรมาจิแบบนิฮงชิกิ ออกแบบมาเพื่อให้คนญี่ปุ่นเขียนภาษาของตนด้วยอักษรละติน แทนการถ่ายเสียงตามแบบเฮ็ปเบิร์น ระบบนี้ตามระบบอักษรญี่ปุ่นอย่างเคร่งครัด ไม่เปลี่ยนตามวิธีออกเสียง ระบบนี้เป็นมาตรฐาน ISO 3602 Strict
คุงเรชิกิ
โรมาจิแบบคุงเรชิกิ เป็นการดัดแปลงเล็กน้อยจากโรมาจิแบบนิฮงชิกิ โดยอักษร づ กับ ず ออกเสียง zu เหมือนกันในภาษาญี่ปุ่นสมัยใหม่ ในทางกลับกัน นิฮงชิกิจะเขียน づ เป็น du และเขียน ず เป็น zu คุงเรชิกิเป็นมาตรฐานของทางการญี่ปุ่น และเป็นมาตรฐาน ISO 3602 คุงเรชิกิจะสอนที่โรงเรียนญี่ปุ่นในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ตัวอย่าง
ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง ๆ
ความหมาย | คันจิ/คานะ | ฟูริงานะ | โรมาจิ | ||
---|---|---|---|---|---|
เฮ็ปเบิร์น | คุงเรชิกิ | นิฮงชิกิ | |||
โรมาจิ | ローマ字 | ローマじ | rōmaji | rômazi | rōmazi |
ภูเขาฟูจิ | 富士山 | ふじさん | Fujisan | Huzisan | Huzisan |
ชา | お茶 | おちゃ | ocha | otya | otya |
รัฐบาล | 知事 | ちじ | chiji | tizi | tizi |
ย่อขนาด | 縮む | ちぢむ | chijimu | tizimu | tidimu |
(ตอน) ต่อไป | 続く | つづく | tsuzuku | tuzuku | tuduku |
ความแตกต่างระหว่างระบบต่างๆ
ฮิรางานะ | คาตากานะ | เฮปเบิร์น | นิฮงชิกิ | คุงเรชิกิ | สากล |
---|---|---|---|---|---|
あ | ア | a | |||
い | イ | i | |||
う | ウ | u | ɯ | ||
え | エ | e | |||
お | オ | o | |||
か | カ | ka | |||
き | キ | ki | kʲi | ||
く | ク | ku | kɯ | ||
け | ケ | ke | |||
こ | コ | ko | |||
きゃ | キャ | kya | kʲa | ||
きゅ | キュ | kyu | kʲɯ | ||
きょ | キョ | kyo | kʲo | ||
さ | サ | sa | |||
し | シ | shi | si | ɕi | |
す | ス | su | sɯ | ||
せ | セ | se | |||
そ | ソ | so | |||
しゃ | シャ | sha | sya | ɕa | |
しゅ | シュ | shu | syu | ɕɯ | |
しょ | ショ | sho | syo | ɕo | |
た | タ | ta | |||
ち | チ | chi | ti | tɕi | |
つ | ツ | tsu | tu | tsɯ | |
て | テ | te | |||
と | ト | to | |||
ちゃ | チャ | cha | tya | tɕa | |
ちゅ | チュ | chu | tyu | tɕɯ | |
ちょ | チョ | cho | tyo | tɕo | |
な | ナ | na | |||
に | ニ | ni | ɲi | ||
ぬ | ヌ | nu | nɯ | ||
ね | ネ | ne | |||
の | ノ | no | |||
にゃ | ニャ | nya | ɲa | ||
にゅ | ニュ | nyu | ɲɯ | ||
にょ | ニョ | nyo | ɲo | ||
は | ハ | ha | |||
ひ | ヒ | hi | çi | ||
ふ | フ | fu | hu | ɸɯ | |
へ | ヘ | he | |||
ほ | ホ | ho | |||
ひゃ | ヒャ | hya | ça | ||
ひゅ | ヒュ | hyu | çɯ | ||
ひょ | ヒョ | hyo | ço | ||
ま | マ | ma | |||
み | ミ | mi | mʲi | ||
む | ム | mu | mɯ | ||
め | メ | me | |||
も | モ | mo | |||
みゃ | ミャ | mya | mʲa | ||
みゅ | ミュ | myu | mʲɯ | ||
みょ | ミョ | myo | mʲo | ||
や | ヤ | ya | ja | ||
ゆ | ユ | yu | jɯ | ||
よ | ヨ | yo | jo | ||
ら | ラ | ra | ɾa | ||
り | リ | ri | ɾʲi | ||
る | ル | ru | ɾɯ | ||
れ | レ | re | ɾe | ||
ろ | ロ | ro | ɾo | ||
りゃ | リャ | rya | ɾʲa | ||
りゅ | リュ | ryu | ɾʲu | ||
りょ | リョ | ryo | ɾʲo | ||
わ | ワ | wa | wa~ɰa | ||
ゐ | ヰ | i | wi | i | |
ゑ | ヱ | e | we | e | |
を | ヲ | o | wo | o | |
ん | ン | n-n'(-m) | n-n' | m~n~ŋ~ɴ | |
が | ガ | ga | |||
ぎ | ギ | gi | gʲi | ||
ぐ | グ | gu | gɯ | ||
げ | ゲ | ge | |||
ご | ゴ | go | |||
ぎゃ | ギャ | gya | gʲa | ||
ぎゅ | ギュ | gyu | gʲɯ | ||
ぎょ | ギョ | gyo | gʲo | ||
ざ | ザ | za | |||
じ | ジ | ji | zi | ʑi~dʑi | |
ず | ズ | zu | zɯ | ||
ぜ | ゼ | ze | |||
ぞ | ゾ | zo | |||
じゃ | ジャ | ja | zya | ʑa~dʑa | |
じゅ | ジュ | ju | zyu | ʑɯ~dʑɯ | |
じょ | ジョ | jo | zyo | ʑo~dʑo | |
だ | ダ | da | |||
ぢ | ヂ | ji | di | zi | ʑi~dʑi |
づ | ヅ | zu | du | zu | zɯ |
で | デ | de | |||
ど | ド | do | |||
ぢゃ | ヂャ | ja | dya | zya | ʑa~dʑa |
ぢゅ | ヂュ | ju | dyu | zyu | ʑɯ~dʑɯ |
ぢょ | ヂョ | jo | dyo | zyo | ʑo~dʑo |
ば | バ | ba | |||
び | ビ | bi | bʲi | ||
ぶ | ブ | bu | bɯ | ||
べ | ベ | be | |||
ぼ | ボ | bo | |||
びゃ | ビャ | bya | bʲa | ||
びゅ | ビュ | byu | bʲɯ | ||
びょ | ビョ | byo | bʲo | ||
ぱ | パ | pa | |||
ぴ | ピ | pi | pʲi | ||
ぷ | プ | pu | pɯ | ||
ぺ | ペ | pe | |||
ぽ | ポ | po | |||
ぴゃ | ピャ | pya | pʲa | ||
ぴゅ | ピュ | pyu | pʲɯ | ||
ぴょ | ピョ | pyo | pʲo | ||
ゔ | ヴ | vu | βɯ |
คะนะ | เฮปเบิร์น | นิฮงชิกิ | คุงเรชิกิ |
---|---|---|---|
うう | ū | û | |
おう, おお | ō | ô | |
し | shi | si | |
しゃ | sha | sya | |
しゅ | shu | syu | |
しょ | sho | syo | |
じ | ji | zi | |
じゃ | ja | zya | |
じゅ | ju | zyu | |
じょ | jo | zyo | |
ち | chi | ti | |
つ | tsu | tu | |
ちゃ | cha | tya | |
ちゅ | chu | tyu | |
ちょ | cho | tyo | |
ぢ | ji | di | zi |
づ | zu | du | zu |
ぢゃ | ja | dya | zya |
ぢゅ | ju | dyu | zyu |
ぢょ | jo | dyo | zyo |
ふ | fu | hu | |
ゐ | i | wi | i |
ゑ | e | we | e |
を | o | wo | o |
ん | n, n' ( m) | n n' |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "文化庁 | 国語施策・日本語教育 | 国語施策情報 | 内閣告示・内閣訓令 | ローマ字のつづり方 | 訓令,告示制定文". www.bunka.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-10-27.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Iwata, Kazunari; 岩田一成 (2018). "ローマ字 (the Roman alphabet)". Meikai Nihongogaku jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷. Tōkyō. p. 164. ISBN 978-4-385-13580-9. OCLC 1160201927.