ข้ามไปเนื้อหา

ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์ (McCune-Reischauer) เป็น 1 ใน 2 ระบบการทับศัพท์ภาษาเกาหลีด้วยอักษรโรมัน ที่นิยมใช้ในภาษาเกาหลี เริ่มพัฒนาใน ปี พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) และได้รับการยอมรับในวงกว้างในและนอกประเทศเกาหลี ซึ่งในประเทศเกาหลีใต้ได้มีการใช้ระบบที่ดัดแปลงจากระบบนี้ นำมาใช้เป็นระบบอย่างเป็นทางการของประเทศในช่วง พ.ศ. 2527-2543 คิดค้นโดยชาวอเมริกันสองคน จอร์จ เอ็ม. แมกคูน และเอดวิน โอ. ไรซ์ชาวเออร์ ซึ่งในปัจจุบันเกาหลีใต้ได้เปลี่ยนมาใช้ระบบใหม่ ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000 ในขณะที่ประเทศเกาหลีเหนือ ยังคงใช้งานอยู่จนถึงปัจจุบัน

การถอดอักษร

สระ

สระ
a ya ŏ o yo u yu ŭ i wa ae e * oe wi ŭi wae we yae ye

* e จะถูกเขียนเป็น ë เมื่อตามหลัง ㅏ และ ㅗ

พยัญชนะ

พยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป

(†)

K

N

T

(R)

M

P

S

CH

CH'

K'

T'

P'

H
พยัญชนะ
สะกด
ㅇ NG NG NGG NGN NGD NGN NGM NGB NGS NGJ NGCH' NGK' NGT' NGP' NGH
ㄱ K G KK NGN KT NGN NGM KP KS KCH KCH' KK' KT' KP' KH
ㄴ N N N'G NN ND LL NM NB NS NJ NCH' NK' NT' NP' NH
ㄹ L R LG LL LD LL LM LB LS LCH LCH' LK' LT' LP' RH
ㅁ M M MG MN MD MN MM MB MS MJ MCH' MK' MT' MP' MH
ㅂ P B PK MN PT MN MM PP PS PCH PCH' PK' PT' PP' PH

† พยัญชนะต้น ㅇ จะถือว่าไม่มีเสียง จึงดึงเสียงพยัญชนะมาจากตัวสะกดในคำก่อนหน้า

ตามปกติแล้ว การตัดสินใจว่าจะใช้ g หรือ k, b หรือ p, d หรือ t และ j หรือ ch สามารถพิจารณาว่าเป็นเสียงหนักหรือเสียงเบา ถ้าเป็นเสียงหนักใช้ g, b, d หรือ j และถ้าเป็นเสียงเบาใช้ k, p, t หรือ ch ตามลำดับ การพิจารณาสำเนียงเช่นนี้จะสำคัญมากกว่าตารางที่ให้มา

พยัญชนะซ้อน

พยัญชนะต้น
  • ㄲ kk
  • ㄸ tt
  • ㅃ pp
  • ㅆ ss
  • ㅉ tch
พยัญชนะสะกด
  • ㄳ ks(h)
  • ㄵ nj
  • ㄶ nh
  • ㄺ lg
  • ㄻ lm
  • ㄼ lb
  • ㄽ ls(h)
  • ㄾ lt
  • ㄿ lp'
  • ㅀ rh
  • ㅄ bs

ตัวอย่าง

ตัวอย่างง่าย:

  • 부산 pusan
  • 못하다 mothada
  • 먹다 mŏkta
  • 먹었다 mŏgŏtta
  • 연락 yŏllak
  • 한국말 han'gungmal
  • 먹는군요 mŏngnŭn'gunyo
  • 역량 yŏngnyang
  • 십리 simni
  • 같이 kach'i
  • 않다 ant'a

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น