ข้ามไปเนื้อหา

ตระกูลอักษรพราหมี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ตระกูลอักษรพราหฺมี)
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
ประโยคภาษาสันสกฤตในอักษรพราหมีหลายแบบ

ตระกูลอักษรพราหมี หรือ ตระกูลอักษรอินเดีย เป็นตระกูลระบบการเขียนอักษรสระประกอบ ซึ่งมีการใช้งานทั่วอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนของเอเชียตะวันออก ตระกูลอักษรนี้พัฒนามาจากอักษรพราหมีในอินเดียโบราณ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้งานหลายตระกูลภาษา เช่น: อินโด-อารยัน, ดราวิเดียน, ทิเบต-พม่า, มองโกล, ออสโตรเอเชียติก, ออสโตรนีเซียน และไท ตระกูลอักษรนี้ยังเป็นต้นตอของบรรณลักษณ์ปทานุกรม (โกจูอง) ในคานะของภาษาญี่ปุ่นด้วย[1]

ประวัติ

[แก้]

ตระกูลอักษรพราหมีพัฒนามาจากอักษรพราหมี มีการรับรองอักษรพราหมีตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ในรัชสมัยพระเจ้าอโศก ผู้ใช้อักษรนี้ในพระราชกฤษฎีกา แต่มีบางส่วนอ้างว่าพบคำจารึกยุคแรกบนเครื่องปั้นดินเผาในอินเดียใต้และศรีลังกา หลักฐานที่น่าเชื่อถือที่สุดคือจารึกอักษรพราหมีสั้น ๆ ที่เขียนขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช และตีพิมพ์โดย Coningham และคณะ (1996)[2] อักษรพราหมีเหนือพัฒนาไปเป็นอักษรคุปตะในสมัยจักรวรรดิคุปตะ ซึ่งภายหลังพัฒนาอักษรในช่วงสมัยกลางหลายรูปแบบ ตัวอย่างอักษรสมัยกลางที่โดดเด่น ซึ่งพัฒนาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 หรือ 8 ได้แก่ นาครี, สิทธัม และศารทา

อักษรสิทธัมมีส่วนสำคัญในศาสนาพุทธ เนื่องจากมีการเขียนพระสูตรด้วยอักษรนี้ ศิลปะอักษรวิจิตรสิทธัมยังคงปรากฏในประเทศญี่ปุ่น ตารางและบรรณลักษณ์ปทานุกรมของระบบคานะสมัยใหม่ เชื่อว่าสืบต้นตอจากอักษรอินเดีย ผ่านการเผยแผ่ศาสนาพุทธ[1]

ส่วนอักษรพราหมีใต้พัฒนาไปเป็นอักษรกทัมพะ, ปัลลวะ และวัตเตลุตตุ ซึ่งภายหลังพัฒนาเป็นอักษรรูปแบบอื่น ๆ ในเอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ตระกูลอักษรพราหมีกระจายไปอย่างสันติ ผ่านการทำให้เป็นอินเดีย หรือการแพร่กระจายของภูมิปัญญาอินเดีย ตัวอักษรเหล่านี้เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านท่าเรือบนเส้นทางการค้า[3] ที่ท่าเรือเหล่านี้ มีผู้พบจารึกโบราณในภาษาสันสกฤตที่ใช้อักษรที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย ในตอนแรก มีการเขียนจารึกเหล่านี้ด้วยภาษาของอินเดีย แต่ภายหลัง แต่ภายหลังมีการใช้อักษรนี้เขียบภาษาแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายหลังจึงมีการพัฒนาอักษรท้องถิ่นขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 อักษรเหล่านี้ได้แตกแขนงออกเป็นอักษรท้องถิ่นหลายแบบ[4]

การเปรียบเทียบ

[แก้]

ตารางข้างล่างคืออักษรอินเดียที่สำคัญบางส่วน เรียงลำดับตามเกณฑ์รูปอักขระแถวแนวตั้งเดียวกันล้วนมาจากรูปอักขระพราหมีเดียวกัน:

  • ตารางนี้ไม่ครอบคลุม ถ้ารูปอักขระไม่ได้มาจากอักษรพราหมี แต่เป็นอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น อาจไม่แสดงในนี้
  • เสียงอ่านของรูปอักขระในแถวแนวตั้งเดียวกันอาจไม่เหมือนกัน เสียงอ่านในแนวนอนเป็นเฉพาะตัวอย่าง ถ้าเป็นไปได้ ควรใช้เสียงอ่านสัทอักษรสากลสำหรับภาษาสันสกฤต หรือถ้าจำเป็นก็ใช้ภาษาอื่น

รูปปริวรรตนี้ระบุไว้ใน ISO 15919

พยัญชนะ

[แก้]
ISO[a] ka kha ga gha ṅa ca cha ja jha ña ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ta tha da dha na ṉa pa pha ba bha ma ya ẏa ra ṟa la ḷa ḻa va śa ṣa sa ha
พราหมี 𑀓 𑀔 𑀕 𑀖 𑀗 𑀘 𑀙 𑀚 𑀛 𑀜 𑀝 𑀞 𑀟 𑀠 𑀡 𑀢 𑀣 𑀤 𑀥 𑀦 𑀧 𑀨 𑀩 𑀪 𑀫 𑀬 𑀭 𑀮 𑀴 𑀯 𑀰 𑀱 𑀲 𑀳
เทวนาครี
เบงกอล-อัสสัม য় র,ৰ
คุรมุขี ਲ਼ ਸ਼
คุชราต
โอริยา
ทมิฬ
เตลูกู
กันนาดา
มลยาฬัม
สิงหล
ทิเบต གྷ ཛྷ ཌྷ དྷ བྷ
มณีปุระ[b]
เลปชา ᰡ᰷
ลิมบู
ติรหุตา 𑒏 𑒐 𑒑 𑒒 𑒓 𑒔 𑒕 𑒖 𑒗 𑒘 𑒙 𑒚 𑒛 𑒜 𑒝 𑒞 𑒟 𑒠 𑒡 𑒢 𑒣 𑒤 𑒥 𑒦 𑒧 𑒨 𑒩 𑒪 𑒬 𑒭 𑒮 𑒯
ไกถี 𑂍 𑂎 𑂏 𑂐 𑂑 𑂒 𑂓 𑂔 𑂕 𑂖 𑂗 𑂘 𑂙 𑂛 𑂝 𑂞 𑂟 𑂠 𑂡 𑂢 𑂣 𑂤 𑂥 𑂦 𑂧 𑂨 𑂩 𑂪 𑂫 𑂬 𑂭 𑂮 𑂯
ครันถะ 𑌕 𑌖 𑌗 𑌘 𑌙 𑌚 𑌛 𑌜 𑌝 𑌞 𑌟 𑌠 𑌡 𑌢 𑌣 𑌤 𑌥 𑌦 𑌧 𑌨 𑌪 𑌫 𑌬 𑌭 𑌮 𑌯 𑌰 𑌲 𑌳 𑌵 𑌶 𑌷 𑌸 𑌹
สิเลฏินาครี
จักมา[c] 𑄇 𑄈 𑄉 𑄊 𑄋 𑄌 𑄍 𑄎 𑄏 𑄐 𑄑 𑄒 𑄓 𑄔 𑄕 𑄖 𑄗 𑄘 𑄙 𑄚 𑄛 𑄜 𑄝 𑄞 𑄟 𑄠 𑄡 𑄢 𑄣 𑅄 𑄤 𑄥 𑄦
พม่า က ဉ / ည
เขมร
ไทย ข,ฃ[d] ค,ฅ[d] ช,ซ[d] ฎ,[d] ด,[d] บ,[d] ผ,ฝ[d] พ,ฟ[d] ห,ฮ[d]
ลาว [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e] [e]
จาม
บาหลี
ชวา[f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f] [f]
ซุนดา [g] [h] [i]
ลนตารา
มากาซาร์ 𑻠 𑻡 𑻢 𑻩 𑻪 𑻫 𑻦 𑻧 𑻨 𑻣 𑻤 𑻥 𑻬 𑻭 𑻮 𑻯 𑻰 𑻱
เรอจัง ꤿ
บาตัก
(โตบา)
/
ไบบายิน                                            
บูฮิด                                            
ฮานูโนโอ                                            
ตักบันวา                                                
ISO ka kha ga gha ṅa ca cha ja jha ña ṭa ṭha ḍa ḍha ṇa ta tha da dha na ṉa pa pha ba bha ma ya ẏa ra ṟa la ḷa ḻa va śa ṣa sa ha
หมายเหตุ
  1. รายการนี้พยายามรวมอักษรที่มีต้นตอเดียวกัน ไม่ใช่เสียงเดียวกัน เช่น র ในอักษรเบงกอลออกเสียงเป็น แต่เดิมทีเป็นอักษร va ซึ่งใช้แทนเสียง wa ในMithilakshar และ ৱ (wabbô) ในอักษรอัสสัมสมัยใหม่มาจาก র (wô) ในอักษรอัสสัมสมัยกลาง เมื่อเทียบกับ জ (ja) য (ya) และ য় (ẏ) ที่ภาษาเบงกอลออกเสียงว่า , และ และภาษาอัสสัมออกเสียงว่า , และ ตามลำดับ য มีความใกล้ชิดกับ य (ya) ในอักษรเทวนาครี แต่ยังคงออกเสียงเป็น "ya" ใน Mithilakshar เนื่องจากมีการเปลี่ยนเสียง จึงเพิ่มจุดเข้าไปเพื่อรักษาเสียงต้นฉบับ
  2. รวมพยัญชนะเสริมที่ไม่ใช้ในสมัยใหม่
  3. สระลดรูปคือ ā
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 อักษรดัดแปลงเหล่านี้มีไว้แยกอักษรต่าง ๆ ที่มีเสียงเดียวกันในภาษาไทย ซึ่งไม่พบในภาษาบาลีและสันสกฤตสำหรับอักษรไทย
  5. 5.00 5.01 5.02 5.03 5.04 5.05 5.06 5.07 5.08 5.09 5.10 5.11 5.12 5.13 อักษรเหล่านี้เลิกใช้งานแล้ว แต่ในอดีต ส่วนใหญ่ใช้เขียนภาษาบาลีและสันสกฤตในอักษรลาว
  6. 6.00 6.01 6.02 6.03 6.04 6.05 6.06 6.07 6.08 6.09 6.10 6.11 6.12 6.13 อักษรในภาษาชวาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว แต่ในภาษาชวาสมัยใหม่ใช้ในเชิงให้เกียรติ
  7. อักษรประดิษฐ์ใหม่ที่ใช้แทนอักษรอาหรับ خ
  8. อักษรที่ใช้ในภาษาซุนดาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
  9. อักษรประดิษฐ์ใหม่ที่ใช้แทนอักษรอาหรับ ش ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ śa.

สระ

[แก้]

ลักษณะของสระในกลุ่มอักษรนี้คือ วางได้รอบพยัญชนะ และแบ่งสระเป็น 2 ชุดคือ สระลอยใช้แทนเสียงสระที่ประสมกับเสียง /อ/ ซึ่งถือเป็นเสียงสระ กับสระจมที่ประสมกับเสียงพยัญชนะ อักษรเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังแบ่งสระเป็นสระลอยกับสระจม ยกเว้น อักษรไทยกับอักษรลาวที่ใช้สระจมเกาะกับอักษร อ แทนสระลอย ในตารางต่อไปนี้รูปสระจมเกาะกับเสียงพยัญชนะ /k/

ISO a ā ê ô i ī u ū e ē ai o ō au r̥̄ [a] [a] l̥̄ [a]
a ka ā ê ô i ki ī u ku ū e ke ē ai kai o ko ō au kau kr̥ r̥̄ kr̥̄ kl̥ l̥̄ kl̥̄ kṁ kḥ k
พราหมีอโศก 𑀅 𑀓 𑀆 𑀓𑀸         𑀇 𑀓𑀺 𑀈 𑀓𑀻 𑀉 𑀓𑀼 𑀊 𑀓𑀽     𑀏 𑀓𑁂 𑀐 𑀓𑁃     𑀑 𑀓𑁄 𑀒 𑀓𑁅 𑀋 𑀓𑀾 𑀌 𑀓𑀿 𑀍 𑀓𑁀 𑀎 𑀓𑁁 𑀅𑀂 𑀓𑀂 𑀅𑀃 𑀓𑀃 𑀓𑁆
เทวนาครี का कॅ कॉ कि की कु कू कॆ के कै कॊ को कौ कृ कॄ कॢ कॣ अं कं अः कः क्
เบงกอล-อัสสัม কা অ্য ক্য অ্যা ক্যা কি কী কু কূ     কে কৈ     কো কৌ কৃ কৄ কৢ কৣ অং কং অঃ কঃ ক্
คุชราต કા         કિ કી કુ કૂ     કે કૈ     કો કૌ કૃ કૄ કૢ કૣ અં કં અઃ કઃ ક્,ક્‍
โอริยา କା         କି କୀ କୁ କୂ     କେ କୈ     କୋ କୌ କୃ କୄ କୢ କୣ କଂ କଃ କ୍
คุรมุขี ਕਾ         ਕਿ ਕੀ ਕੁ ਕੂ     ਕੇ ਕੈ     ਕੋ ਕੌ                 ਅਂ ਕਂ ਅਃ ਕਃ ਕ੍
มณีปุระ[b] ꯑꯥ ꯀꯥ         ꯀꯤ ꯑꫫ ꯀꫫ ꯀꯨ ꯑꫬ ꯀꫬ     ꯑꯦ ꯀꯦ ꯑꯩ ꯀꯩ     ꯑꯣ ꯀꯣ ꯑꯧ ꯀꯧ                 ꯑꯪ ꯀꯪ ꯑꫵ ꯀꫵ
ทิเบต ཨཱ ཀཱ         ཨི ཀི ཨཱི ཀཱི ཨུ ཀུ ཨཱུ ཀཱུ     ཨེ ཀེ ཨཻ ཀཻ     ཨོ ཀོ ཨཽ ཀཽ རྀ ཀྲྀ རཱྀ ཀཷ ལྀ ཀླྀ ལཱྀ ཀླཱྀ ཨཾ ཀཾ ཨཿ ཀཿ ཀ྄
เลปชา ᰣᰦ ᰀᰦ         ᰣᰧ ᰀᰧ ᰣᰧᰶ ᰀᰧᰶ ᰣᰪ ᰀᰪ ᰣᰫ ᰀᰫ     ᰣᰬ ᰀᰬ         ᰣᰨ ᰀᰨ ᰣᰩ ᰀᰩ                 ᰣᰴ ᰀᰴ      
ลิมบู ᤀᤠ ᤁᤠ         ᤀᤡ ᤁᤡ ᤀᤡ᤺ ᤁᤡ᤺ ᤀᤢ ᤁᤢ ᤀ᤺ᤢ ᤁ᤺ᤢ ᤀᤧ ᤁᤧ ᤀᤣ ᤁᤣ ᤀᤤ ᤁᤤ ᤀᤨ ᤁᤨ ᤀᤥ ᤁᤥ ᤀᤦ ᤁᤦ                 ᤀᤲ ᤁᤲ     ᤁ᤻
ติรหุตา 𑒁 𑒏 𑒂 𑒏𑒰         𑒃 𑒏𑒱 𑒄 𑒏𑒲 𑒅 𑒏𑒳 𑒆 𑒏𑒴   𑒏𑒺 𑒋 𑒏𑒹 𑒌 𑒏𑒻   𑒏𑒽 𑒍 𑒏𑒼 𑒎 𑒏𑒾 𑒇 𑒏𑒵 𑒈 𑒏𑒶 𑒉 𑒏𑒷 𑒊 𑒏𑒸 𑒁𑓀 𑒏𑓀 𑒁𑓁 𑒏𑓁 𑒏𑓂
ไกถี 𑂃 𑂍 𑂄 𑂍𑂰         𑂅 𑂍𑂱 𑂆 𑂍𑂲 𑂇 𑂍𑂳 𑂈 𑂍𑂴     𑂉 𑂍𑂵 𑂊 𑂍𑂶     𑂋 𑂍𑂷 𑂌 𑂍𑂸                 𑂃𑂁 𑂍𑂁 𑂃𑂂 𑂍𑂂 𑂍𑂹
สิเลฏินาครี   ꠇꠣ         ꠇꠤ     ꠇꠥ         ꠇꠦ ꠅꠂ ꠇꠂ     ꠇꠧ                     ꠀꠋ ꠇꠋ     ꠇ꠆
ทมิฬ கா         கி கீ கு கூ கெ கே கை கொ கோ கௌ                 அஂ கஂ அஃ கஃ க்
กันนาดา ಕಾ         ಕಿ ಕೀ ಕು ಕೂ ಕೆ ಕೇ ಕೈ ಕೊ ಕೋ ಕೌ ಕೃ ಕೄ ಕೢ ಕೣ అం ಕಂ అః ಕಃ ಕ್
เตลูกู కా         కి కీ కు కూ కె కే కై కొ కో కౌ కృ కౄ కౢ కౣ అం కం అః కః క్
สิงหล කා කැ කෑ කි කී කු කූ කෙ කේ කෛ කො කෝ කෞ සෘ කෘ සෲ කෲ කෟ කෳ අං කං අඃ කඃ ක්
มลยาฬัม കാ         കി കീ കു കൂ കെ കേ കൈ കൊ കോ കൗ കൃ കൄ കൢ കൣ അം കം അഃ കഃ ക്,ക്‍
จักมา 𑄃𑄧 𑄇𑄧 𑄃 𑄇 𑄃𑄬𑄬 𑄇𑄬𑄬 𑄃𑅅 𑄇𑅅 𑄄, 𑄃𑄨 𑄇𑄨 𑄃𑄩 𑄇𑄩 𑄅, 𑄃𑄪 𑄇𑄪 𑄃𑄫 𑄇𑄫     𑄆, 𑄃𑄬 𑄇𑄬 𑄃𑄰 𑄇𑄰     𑄃𑄮 𑄇𑄮 𑄃𑄯 𑄇𑄯                 𑄃𑄧𑄁 𑄇𑄧𑄁 𑄃𑄧𑄂 𑄇𑄧𑄂 𑄇𑄴
พม่า က အာ ကာ         ကိ ကီ ကု ကူ     ကေ အဲ ကဲ ကော     ကော် ကၖ ကၗ ကၘ ကၙ အံ ကံ အး ကး က်
เขมร[c] អា កា         កិ កី កុ កូ     កេ កៃ     កោ កៅ ក្ឫ ក្ឬ ក្ឭ ក្ឮ អំ កំ អះ កះ ក៑
ไทย[d] อ (อะ) ก (กะ) อา กา แอ แก (ออ) (กอ) อิ กิ อี กี อุ กุ อู กู (เอะ) (เกะ) เอ เก ไอ,ใอ ไก,ใก (โอะ) (โกะ) โก เอา เกา กฺฤ ฤๅ กฺฤๅ กฺฦ ฦๅ กฺฦๅ อํ กํ อะ (อะฮฺ) กะ (กะฮฺ) กฺ (ก/ก์)
ลาว[d] ອະ ກະ ອາ ກາ ແອ ແກ (ອອ) (ກອ) ອິ ກິ ອີ ກີ ອຸ ກຸ ອູ ກູ (ແອະ) (ແກະ) ເອ ເກ ໄອ,ໃອ ໄກ,ໃກ (ໂອະ) (ໂກະ) ໂອ ໂກ ເອົາ,ອາວ ເກົາ,ກາວ                 ອํ ກํ ອະ ກະ
จาม ꨀꨩ ꨆꨩ         ꨆꨪ ꨁꨩ ꨆꨫ ꨆꨭ ꨂꨩ ꨆꨭꨩ     ꨆꨯꨮ ꨆꨰ     ꨆꨯ ꨀꨯꨱ ꨆꨯꨱ ꨣꨮ ꨆꨴꨮ ꨣꨮꨩ ꨆꨴꨮꨩ ꨤꨮ ꨆꨵꨮ ꨤꨮꨩ ꨆꨵꨮꨩ ꨀꩌ ꨆꩌ ꨀꩍ ꨆꩍ
บาหลี ᬓᬵ         ᬓᬶ ᬓᬷ ᬓᬸ ᬓᬹ ᬓᬾ     ᬓᬿ ᬓᭀ     ᬓᭁ ᬓᬺ ᬓᬻ ᬓᬼ ᬓᬽ ᬅᬂ ᬓᬂ ᬅᬄ ᬓᬄ ᬓ᭄
ชวา ꦄꦴ ꦏꦴ         ꦏꦶ ꦏꦷ ꦏꦸ ꦈꦴ ꦏꦹ ꦏꦺ     ꦏꦻ ꦏꦺꦴ     ꦎꦴ ꦏꦻꦴ ꦏꦽ ꦉꦴ ꦏꦽꦴ ꦏ꧀ꦭꦼ ꦏ꧀ꦭꦼꦴ ꦄꦁ ꦏꦁ ꦄꦃ ꦏꦃ ꦏ꧀
ซุนดา     ᮊᮦ ᮊᮩ ᮊᮤ     ᮊᮥ     ᮊᮦ         ᮊᮧ         [e] ᮊ᮪ᮻ[e]     [e] ᮊ᮪ᮼ[e]     ᮃᮀ ᮊᮀ ᮃᮂ ᮊᮂ ᮊ᮪
ลนตารา     ᨕᨛ ᨀᨛ     ᨕᨗ ᨀᨗ     ᨕᨘ ᨀᨘ     ᨕᨙ ᨀᨙ         ᨕᨚ ᨀᨚ                                  
มากาซาร์ 𑻱 𑻠 𑻱𑻳 𑻠𑻳 𑻱𑻴 𑻠𑻴 𑻱𑻵 𑻠𑻵 𑻱𑻶 𑻠𑻶
เรอจัง     ꥆꥎ ꤰꥎ ꥆꥍ ꤰꥍ ꥆꥇ ꤰꥇ     ꥆꥈ ꤰꥈ     ꥆꥉ ꤰꥉ     ꥆꥊ ꤰꥊ ꥆꥋ ꤰꥋ     ꥆꥌ ꤰꥌ                 ꥆꥏ ꤰꥏ ꥆꥒ ꤰꥒ ꤰ꥓
บาตัก (โตบา)             ᯂᯪ     ᯂᯮ       ᯂᯩ           ᯂᯬ                         ᯀᯰ ᯂᯰ ᯀᯱ ᯂᯱ ᯂ᯲
ไบบายิน             ᜃᜒ     ᜃᜓ     ᜃᜒ         ᜃᜓ                                 ᜃ᜔
บูฮิด             ᝃᝒ     ᝃᝓ                                                      
ฮานูโนโอ             ᜣᜲ     ᜣᜳ                                                     ᜣ᜴
ตักบันวา             ᝣᝲ     ᝣᝳ                                                      
ISO a ka ā ê ô i ki ī u ku ū e ke ē ai kai o ko ō au kau kr̥ r̥̄ kr̥̄ kl̥ l̥̄ kl̥̄ kṁ kḥ k
a ā ê ô i ī u ū e ē ai o ō au r̥̄ l̥̄

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 1.2 อักษรสำหรับ r̥̄, , l̥̄ และอื่น ๆ ปัจจุบันเลิกใช้งานหรือแทบไม่ได้ใช้งาน
  2. รวมสระเสริมที่ไม่ใช้ในสมัยใหม่
  3. ภาษาเขมรสามารถใช้ a หรือ o เป็นสระลดรูป เมื่อเขียนถึงภาษาของตนเองตามกฎอักขรวิธี
  4. 4.0 4.1 อักษรไทยและลาวไม่มีรูปสระอิสระ เนื่องจากพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยเสียงสระ สระ "ศูนย์" (อ และ ອ ตามลำดับ) ใช้แทนเสียงหยุด เส้นเสียง /ʔ/
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 อักษรที่ใช้ในภาษาซุนดาเก่า ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว

ตัวเลข

[แก้]
ฮินดู-อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขพราหมี 𑁒 𑁓 𑁔 𑁕 𑁖 𑁗 𑁘 𑁙 𑁚
เลขโดดพราหมี 𑁦 𑁧 𑁨 𑁩 𑁪 𑁫 𑁬 𑁭 𑁮 𑁯
อัสสัม
เบงกอล
ติรหุตา 𑓐 𑓑 𑓒 𑓓 𑓔 𑓕 𑓖 𑓗 𑓘 𑓙
โอริยา
เทวนาครี
คุชราต
โมฑี 𑙐‎ 𑙑‎ 𑙒 𑙓‎ 𑙔‎ 𑙕 𑙖‎ 𑙗 𑙘‎ 𑙙
ศารทา 𑇐 𑇑 𑇒 𑇓 𑇔 𑇕 𑇖 𑇗 𑇘 𑇙
ฏากรี 𑛀 𑛁 𑛂 𑛃 𑛄 𑛅 𑛆 𑛇 𑛈 𑛉
คุรมุขี
ขุทาพาที 𑋰 𑋱 𑋲 𑋳 𑋴 𑋵 𑋶 𑋷 𑋸 𑋹
มณีปุระ (เมเต)
ปรัจลิต 𑑐‎ 𑑑‎ 𑑒‎ 𑑓‎ 𑑔‎ 𑑕‎ 𑑖‎ 𑑗‎ 𑑘‎ 𑑙
ทิเบต
มองโกล[a]
เลปชา
ลิมบู
ตัวเลขโหราศาสตร์สิงหล
อดีตตัวเลขสิงหล 𑇡 𑇢 𑇣 𑇤 𑇥 𑇦 𑇧 𑇨 𑇩
ทมิฬ
เตลูกู
กันนาดา
มลยาฬัม
Saurashtra
อาหม 𑜰 𑜱 𑜲 𑜳 𑜴 𑜵 𑜶 𑜷 𑜸 𑜹
จักมา 𑄶 𑄷 𑄸 𑄹 𑄺 𑄻 𑄼 𑄽 𑄾 𑄿
พม่า
ไทใหญ่
เขมร
ไทย
ลาว
จาม
ธรรมล้านนา[b]
ตัวเลขโหราศาสตร์ธรรมล้านนา[c]
ไทลื้อ
บาหลี
ชวา
ซุนดา
ฮินดู-อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

หมายเหตุ

  1. ตัวเลขมองโกลมาต้นตอจากตัวเลขทิเบต และใช้เป็นตัวเชื่อมอักษรมองโกลกับ Clear
  2. ใช้ในเชิงพิธี
  3. ใช้งานทั่วไป

รายการตระกูลอักษรพราหมี

[แก้]

อดีต

[แก้]
อักษรพราหมียุคแรก
IAST อโศก Girnar จันทรคุปต์ คุชราต อลาหาบาด Narbada Kistna
a
ā
i
ī
u
ū
e
ai
o
au
k
kh
g
gh
c
ch
j
jh
ñ
ṭh
ḍh
t
th
d
dh
n
p
ph
b
bh
m
y
r
l
v
ś
s
h

พราหมีเหนือ

[แก้]
แผนที่กลุ่มภาษาอินโด-อารยันที่ใช้อักษรตระกูลพราหมี (ยกเว้นภาษาโควาร์, ปาชายี, โคฮิสตานี และอูรดูที่อยู่ในสีน้ำเงินเข้ม เนื่องจากใช้อักษรจากอักษรอาหรับ)

พราหมีใต้

[แก้]
แผนที่ตระกูลภาษาดราวิเดียนที่ใช้อักษรตระกูลพราหมี (ยกเว้นภาษาบราฮุยที่ใช้อักษรจากอักษรอาหรับ)

ยูนิโคด

[แก้]

ข้อมูลจากยูนิโคดรุ่น 15.0 อักษรตระกูลพราหมีที่ลงรหัสในนี้ มีดังนี้:

อักษร แยกจาก ระยะเวลาแยก การใช้งาน ISO 15924 ขอบเขตยูนิโคด ตัวอย่าง
อาหม พม่า[6] คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษาอาหมที่สูญหายแล้ว Ahom U+11700–U+1174F 𑜒𑜠𑜑𑜨𑜉
บาหลี กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 11 ภาษาบาหลี Bali U+1B00–U+1B7F ᬅᬓ᭄ᬲᬭᬩᬮᬶ
บาตัก ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 14 กลุ่มภาษาบาตัก Batk U+1BC0–U+1BFF ᯘᯮᯒᯖ᯲ ᯅᯖᯂ᯲
ไบบายิน กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาษาตากาล็อก และกลุ่มภาษาฟิลิปปินอื่น ๆ Tglg U+1700–U+171F ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔
เบงกอล-อัสสัม สิทธัม คริสต์ศตวรรษที่ 11 ภาษาอัสสัม (รูปแบบอักษรอัสสัม), ภาษาเบงกอล (รูปแบบอักษรเบงกอล), ภาษามณีปุระพิษณุปุระ, ภาษาไมถิลี, ภาษาอังคิกา Beng U+0980–U+09FF
  • অসমীয়া লিপি
  • বাংলা লিপি
ไภกษุกี คุปตะ คริสต์ศตวรรษที่ 11 เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตประมาณช่วงแรกของคริสต์สหัสวรรษที่ 1 Bhks U+11C00–U+11C6F 𑰥𑰹𑰎𑰿𑰬𑰲𑰎𑰱
บูฮิด กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาษาบูฮิด Buhd U+1740–U+175F ᝊᝓᝑᝒᝇ
มอญ-พม่า ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 11 ภาษาพม่า, ภาษามอญ และภาษาอื่น ๆ ที่ใช้อักษรที่ดัดแปลงจากอักษรนี้ เช่น ภาษาจักมา, ภาษากะเหรี่ยงโปตะวันออกและตะวันตก, ภาษากะเหรี่ยงเฆบา, ภาษากะยา, ภาษาปะหล่อง, ภาษากะเหรี่ยงสะกอ, ภาษาไทใหญ่ Mymr U+1000–U+109F, U+A9E0–U+A9FF, U+AA60–U+AA7F မြန်မာအက္ခရာ
จักมา พม่า คริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาจักมา Cakm U+11100–U+1114F 𑄌𑄋𑄴𑄟𑄳𑄦
จาม ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาจาม Cham U+AA00–U+AA5F ꨌꩌ
เทวนาครี นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษากลุ่มอินโด-อารยันบางส่วน (กงกัณ, มราฐี, ฮินดี, สันสกฤต, เนปาล, ภิล, สินธ์, คุชราต ฯลฯ), ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต (โบโด, เนวาร์, เศรปา ฯลฯ), ภาษามุนดารี (ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก) และอื่น ๆ Deva U+0900–U+097F, U+A8E0–U+A8FF, U+11B00–U+11B5F देवनागरी
ดิเวส อกุรุ ครันถะ เคยใช้เขียนภาษามัลดีฟส์จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20[7] Diak U+11900–U+1195F 𑤞𑥂𑤧𑤭𑥂
โฑครี ฏากรี เคยใช้เขียนภาษาโฑครี อักษรโฑครีมีความใกล้ชิดกับอักษรฏากรี[8] Dogr U+11800–U+1184F 𑠖𑠵𑠌𑠤𑠬
ครันถะ ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 6 จำกัดใช้ในสำนักพระเวทเพื่อเขียนภาษาสันสกฤต นิยมใช้ในหมู่ผู้พูดภาษาทมิฬเพื่อเขียนภาษาสันสกฤตและภาษาคลาสสิก Manipravalam Gran U+11300–U+1137F 𑌗𑍍𑌰𑌨𑍍𑌥
คุชราต นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 17 ภาษาคุชราต, ภาษากัจฉิ Gujr U+0A80–U+0AFF ગુજરાતી લિપિ
คุญชลาโคณฑี คริสต์ศตวรรษที่ 16 ใช้เขียนภาษาโคณฑี สำเนียง Adilabad[9] Gong U+11D60–U+11DAF 𑵶𑶍𑶕𑶀𑵵𑶊 𑵶𑶓𑶕𑶂𑶋
คุรมุขี ศารทา คริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาษาปัญจาบ Guru U+0A00–U+0A7F ਗੁਰਮੁਖੀ
ฮานูโนโอ กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาษาฮานูโนโอ Hano U+1720–U+173F ᜱᜨᜳᜨᜳᜢ
ชวา กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาษาชวา, ภาษาซุนดา, ภาษามาดูรา Java U+A980–U+A9DF ꦄꦏ꧀ꦱꦫꦗꦮ
ไกถี นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 16 ในอดีตใช้สำหรับเขียนบันทึกทางกฎหมาย การบริหาร และส่วนตัว Kthi U+11080–U+110CF 𑂍𑂶𑂟𑂲
กันนาดา เตลูกู-กันนาดา คริสต์ศตวรรษที่ 9 ภาษากันนาดา, ภาษากงกัณ, ภาษาตูลู, ภาษาพทคะ, ภาษาโกทวะ, Beary และอื่น ๆ Knda U+0C80–U+0CFF ಕನ್ನಡ ಅಕ್ಷರಮಾಲೆ
กวิ ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยหลักพบในเกาะชวาและใช้งานทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16[10] Kawi U+11F00–U+11F5F 𑼒𑼮𑼶
เขมร ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 11 ภาษาเขมร Khmr U+1780–U+17FF, U+19E0–U+19FF អក្សរខ្មែរ
โขชกี ลัณฑา คริสต์ศตวรรษที่ 16 ชุมชนอิสมาอีลียะฮ์บางส่วนใช้งาน ชุมชน Khoja เคยใช้เขียนวรรณกรรมศาสนาอิสลาม Khoj U+11200–U+1124F 𑈉𑈲𑈐𑈈𑈮
ขุทาพาที ลัณฑา คริสต์ศตวรรษที่ 16 เคยใช้ในชุมชนชาวสินธ์เพื่อเขียนจดหมายโต้ตอบและธุรกิจ Sind U+112B0–U+112FF 𑊻𑋩𑋣𑋏𑋠𑋔𑋠𑋏𑋢
ลาว เขมร คริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาษาลาว และอื่น ๆ Laoo U+0E80–U+0EFF ອັກສອນລາວ
เลปชา ทิเบต คริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาเลปชา Lepc U+1C00–U+1C4F ᰛᰩᰴ
ลิมบู เลปชา คริสต์ศตวรรษที่ 9 ภาษาลิมบู Limb U+1900–U+194F ᤛᤡᤖᤡᤈᤨᤅ
ลนตารา กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 17 ภาษาบูกิส และอื่น ๆ Bugi U+1A00–U+1A1F ᨒᨚᨈᨑ
มหาชนี ลัณฑา คริสต์ศตวรรษที่ 16 เคยใช้เขียนบันทึกรายงานและบันทึกทางการเงินในอินเดียเหนือ Mahj U+11150–U+1117F 𑅬𑅱𑅛𑅧𑅑‎
มากาซาร์ กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 17 เคยใช้เขียนภาษามากัซซาร์ในจังหวัดซูลาเวซีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย[11] อักษรมากาซาร์ยังมีอีกชื่อในงานวิชาการภาษาอังกฤษว่า "มากัซซาร์เก่า" หรือ "อักษรนกมากัซซาร์"[12] Maka U+11EE0–U+11EFF 𑻪𑻢𑻪𑻢
มลยาฬัม ครันถะ คริสต์ศตวรรษที่ 12 ภาษามลยาฬัม Mlym U+0D00–U+0D7F മലയാളലിപി
มาร์เชน ทิเบต คริสต์ศตวรรษที่ 7 เคยใช้เขียนในภาษาซังซุงที่สูญหายแล้วของศาสนาเพินแห่งทิเบต Marc U+11C70–U+11CBF 𑱳𑲁𑱽𑱾𑲌𑱵𑲋𑲱𑱴𑱶𑲱𑲅𑲊𑱱
มณีปุระ ทิเบต คริสต์ศตวรรษที่ 11–12 ใช้เขียนภาษามณีปุระตาม "The Manipur Official Language (Amendment) Act, 2021"[13] Mtei U+AAE0–U+AAFF, U+ABC0–U+ABFF ꯃꯤꯇꯩ ꯃꯌꯦꯛ
โมฑี นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 17 เคยใช้เขียนภาษามราฐี Modi U+11600–U+1165F 𑘦𑘻𑘚𑘲
มุลตานี ลัณฑา เคยใช้เขียนภาษามุลตานี Mult U+11280–U+112AF 𑊠𑊣𑊖𑊚
นันทินาครี นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 7 เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตในอินเดียใต้ Nand U+119A0–U+119FF 𑧁𑧞𑦿𑧒𑧁𑧑𑦰𑧈𑧓
ไทลื้อ ธรรมล้านนา คริสต์ทศวรรษ 1950 ภาษาไทลื้อ Talu U+1980–U+19DF ᦟᦲᧅᦎᦷᦺᦑ
โอริยา สิทธัม คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษาโอริยา Orya U+0B00–U+0B7F ଓଡ଼ିଆ ଅକ୍ଷର
พักปา ทิเบต คริสต์ศตวรรษที่ 13 เคยใช้เขียนในสมัยราชวงศ์หยวนของมองโกล Phag U+A840–U+A87F ꡖꡍꡂꡛ ꡌ
ปรัจลิต (เนวา) เนปาล ใช้เขียนภาษาสันสกฤต, ภาษาเนปาล, ภาษาฮินดี, ภาษาเบงกอล และภาษาไมถิลี Newa U+11400–U+1147F 𑐥𑑂𑐬𑐔𑐮𑐶𑐟
เรอจัง กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 18 ภาษาเรอจัง ส่วนใหญ่เลิกใช้งานแล้ว Rjng U+A930–U+A95F ꥆꤰ꥓ꤼꤽ ꤽꥍꤺꥏ
เสาราษฏร์ ครันถะ คริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษารเสาราษฏร์ ส่วนใหญ่เลิกใช้งานแล้ว Saur U+A880–U+A8DF ꢱꣃꢬꢵꢰ꣄ꢜ꣄ꢬꢵ
ศารทา คุปตะ คริสต์ศตวรรษที่ 8 เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตและภาษากัศมีร์ Shrd U+11180–U+111DF 𑆯𑆳𑆫𑆢𑆳
สิทธัม คุปตะ คริสต์ศตวรรษที่ 7 เคยใช้เขียนภาษาสันสกฤต Sidd U+11580–U+115FF 𑖭𑖰𑖟𑖿𑖠𑖽
สิงหล พราหมี[14] คริสต์ศตวรรษที่ 4[15] ภาษาสิงหล Sinh U+0D80–U+0DFF, U+111E0–U+111FF ශුද්ධ සිංහල
ซุนดา กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาษาซุนดา Sund U+1B80–U+1BBF, U+1CC0–U+1CCF ᮃᮊ᮪ᮞᮛ ᮞᮥᮔ᮪ᮓ
สิเลฏินาครี นาครี คริสต์ศตวรรษที่ 16 อดีตใช้เขียนภาษาสิเลฏ Sylo U+A800–U+A82F ꠍꠤꠟꠐꠤ ꠘꠣꠉꠞꠤ
ตักบันวา กวิ คริสต์ศตวรรษที่ 14 หลายภาษาในปาลาวัน ปัจจุบันใกล้สูญหาย Tagb U+1760–U+177F ᝦᝪᝨᝯ
ไทใต้คง มอญ คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษาไทใต้คง Tale U+1950–U+197F ᥖᥭᥰᥖᥬᥳᥑᥨᥒᥰ
ธรรมล้านนา มอญ คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ, ภาษาเขิน Lana U+1A20–U+1AAF ᨲᩫ᩠ᩅᨾᩮᩬᩥᨦ
ไทเวียด ไทย คริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาษาไทดำ Tavt U+AA80–U+AADF ꪼꪕꪒꪾ
ฏากรี ศารทา คริสต์ศตวรรษที่ 16 เคยใช้เขียนภาษา Chambeali และภาษาอื่น ๆ Takr U+11680–U+116CF 𑚔𑚭𑚊𑚤𑚯
ทมิฬ ปัลลวะ คริสต์ศตวรรษที่ 2 ภาษาทมิฬ Taml U+0B80–U+0BFF, U+11FC0–U+11FFF தமிழ் அரிச்சுவடி
เตลูกู เตลูกู-กันนาดา คริสต์ศตวรรษที่ 5 ภาษาเตลูกู Telu U+0C00–U+0C7F తెలుగు లిపి
ไทย ขอม คริสต์ศตวรรษที่ 13 ภาษาไทย Thai U+0E00–U+0E7F อักษรไทย
ทิเบต คุปตะ คริสต์ศตวรรษที่ 8 ภาษาทิเบตคลาสสิก, ภาษาซองคา, ภาษาลาดัก Tibt U+0F00–U+0FFF བོད་ཡིག་
ติรหุตา สิทธัม คริสต์ศตวรรษที่ 13 อดีตใช้เขียนภาษาไมถิลี Tirh U+11480–U+114DF 𑒞𑒱𑒩𑒯𑒳𑒞𑒰

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Frellesvig, Bjarke (2010). A History of the Japanese Language. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 177–178. ISBN 978-0-521-65320-6.
  2. Coningham, R. A. E.; Allchin, F. R.; Batt, C. M.; Lucy, D. (April 1996). "Passage to India? Anuradhapura and the Early Use of the Brahmi Script". Cambridge Archaeological Journal. 6 (1): 73–97. doi:10.1017/S0959774300001608. S2CID 161465267.
  3. Court, C. (1996). Introduction. In P. T. Daniels & W. Bright (Eds.) The World's Writing Systems (pp. 443). Oxford: Oxford University Press.
  4. Court, C. (1996). The spread of Brahmi Script into Southeast Asia. In P. T. Daniels & W. Bright (Eds.) The World's Writing Systems (pp. 445-449). Oxford: Oxford University Press.
  5. 5.0 5.1 Sproat, Richard (2006-07-20). "Brahmi-derived scripts, script layout, and segmental awareness". Written Language and Literacy. 9 (1): 45–66. doi:10.1075/wll.9.1.05spr. ISSN 1387-6732.
  6. Terwiel; Khamdaengyodtai (2003). Shan Manuscripts, Part 1. p. 13.
  7. Pandey, Anshuman (2018-01-23). "L2/18-016R: Proposal to encode Dives Akuru in Unicode" (PDF).
  8. Pandey, Anshuman (2015-11-04). "L2/15-234R: Proposal to encode the Dogra script" (PDF).
  9. "Chapter 13: South and Central Asia-II" (PDF). The Unicode Standard, Version 11.0. Mountain View, California: Unicode, Inc. June 2018. ISBN 978-1-936213-19-1.
  10. Aditya Bayu Perdana and Ilham Nurwansah 2020. Proposal to encode Kawi
  11. "Chapter 17: Indonesia and Oceania" (PDF). The Unicode Standard, Version 11.0. Mountain View, California: Unicode, Inc. June 2018. ISBN 978-1-936213-19-1.
  12. Pandey, Anshuman (2015-11-02). "L2/15-233: Proposal to encode the Makasar script in Unicode" (PDF).
  13. "GAZETTE TITLE: The Manipur Official Language (Amendment) Act, 2021". manipurgovtpress.nic.in.
  14. Daniels (1996), p. 379.
  15. Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 389.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]