ข้ามไปเนื้อหา

ล็อกฮีด พี-38 ไลท์นิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพตัวอย่างของ P-38 Lightning
หน้าที่ เครื่องบินขับไล่

เครื่องบินขับไล่หนัก เครื่องบินทิ้งระเบิด เครื่องบินลาดตระเวน

ประเทศผู้ผลิต  สหรัฐอเมริกา
ผู้ผลิต ล็อกฮีด คอร์ปเปเรชั่น
ผู้ออกแบบ Clarence "Kelly" Johnson
เที่ยวบินแรก 27 มกราคม ค.ศ. 1939
เริ่มใช้ กรกฎาคม ค.ศ. 1941[1]
ปลดระวาง 1949 (กองทัพอากาศสหรัฐ)
1965 (กองทัพอากาศฮอนดูรัส)[2]
ผู้ใช้หลัก กองทัพอากาศทหารบกสหรัฐ
กองทัพอากาศฝรั่งเศสเสรี
การผลิต 1941–45
จำนวนที่ถูกผลิต 10,037[3]
ค่าใช้จ่ายต่อลำ
US$97,147 ในปี ค.ศ. 1944[4]
พัฒนาเป็น Lockheed XP-49
Lockheed XP-58
WASP pilot Ruth Dailey climbs into a P-38.


ล็อกฮีด พี-38 ไลท์นิง เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีเครื่องยนต์แบบลูกสูบของสหรัฐในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ถูกพัฒนาขึ้นจากเหล่ากองทัพอากาศสหรัฐ(United States Army Air Corps) พี-38 นั้นมีแพนหางคู่ที่โดดเด่น และห้องเครื่องโดยสารที่อยู่ตรงกลางจะมีนักบินและอาวุธยุโธปกรณ์ โฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายสัมพันธมิตรได้กล่าวอ้างว่าได้มีการตั้งฉายาว่า ปีศาจส้อมคู่ประกบกัน(fork-tailed devil)(เยอรมัน: der Gabelschwanz-Teufel) โดยลุฟท์วัฟเฟอ และ"เครื่องบินสองลำ,หนึ่งนักบิน" (2飛行機、1パイロット Ni hikōki, ippairotto) โดยญี่ปุ่น[5] พี-38 ถูกใช้งานสำหรับการสกัดกั้น การทิ้งระเบิดแบบดำดิ่ง การทิ้งระเบิดแบบระดับ โจมตีทางภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่ตอนกลางคืน การถ่ายภาพลาดตระเวน เรดาร์และการมองเห็นช่องทางสำหรับการทิ้งระเบิดและภารกิจอพยพ[6] และอย่างกว้างขวางในฐานะเครื่องบินขับไล่คุ้มกันในระยะยาว เมื่อได้ติดตั้งถังดร็อป(Drop tank)ไว้ใต้ปีก

พี-38 ได้ถูกใช้งานอย่างประสบความสำเร็จอย่างมากมายในปฏิบัติการในเขตสงครามแปซิฟิกและปฏิบัติการในเขตสงครามจีน-พม่า-อินเดียในฐานะที่เป็นเครื่องบินของเสืออากาศที่มีอันดับต้นๆของอเมริกา, Richard Bong(ชัยชนะ 40 ครั้ง) Thomas McGuire (ชัยชนะ 38 ครั้ง) และ Charles H. MacDonald(ชัยชนะ 27 ครั้ง) ในเขตสงครามแปซิฟิกตะวันตกเฉียงใต้ พี-38 เป็นเครื่องบินขับไล่ในระยะยาวเป็นหลักของกองทัพอากาศสหรัฐจนกระทั่งการปรากฏตัวเป็นจำนวนมากของเครื่องบินพี-51ดี มัสแตง ตลอดในช่วงท้ายสงคราม[7][8]

พี-38 นั้นมีความเงียบเป็นพิเศษสำหรับเครื่องบินขับไล่ เนื่องจากท่อไอเสียจะถูกปกปิดด้วยเทอร์โบ-ซูปเปอร์ชาร์จเจอร์(turbo-superchargers) มันอาจได้รับการให้อภัยอย่างมากและอาจมีข้อผิดพลาดได้หลายวิธี แต่อัตราการหมุนในเวอร์ชันแรกนั้นต่ำเกินไปสำหรับความเก่งกาจในฐานะสุนัขเครื่องบินขับไล่(dogfighter) พี-38 นั้นเป็นเครื่องบินขับไล่สัญชาติอเมริกาเพียงลำเดียวในการผลิตขนาดใหญ่ที่สุดมาตลอดในช่วงการเข้าร่วมในสงครามของอเมริกา จากเพิร์ลฮาร์เบอร์ไปจนถึงวันแห่งชัยชนะเหนือญี่ปุ่น[9] ในช่วงท้ายสงคราม, คำสั่งในการผลิตอีกกว่า 1,887 ลำได้ถูกยกเลิก[10]

คุณลักษณะ (พี-38แอล)

[แก้]
  • ผู้สร้าง: ล็อกฮีด คอร์ปเปเรชั่น (สหรัฐ)
  • ประเภท: เครื่องบินขับไล่
  • เครื่องยนต์: เครื่องยนต์ลูกสูบรูปตัววี อัลลิสัน วี-1710 จำนวน 12 สูบ พร้อมเทอร์โบชาร์จเจอร์ ให้กำลัง 1,600 แรงม้า 2 เครื่อง
  • กางปีก: 15.85 เมตร
  • ยาว: 11.53 เมตร
  • สูง: 3.91 เมตร
  • พื้นที่ปีก: 30.43 ตารางเมตร
  • น้ำหนักเปล่า: 5,800 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด: 9,798 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วสูงสุด: 666 กิโลเมตร/ชั่วโมง ที่ระดับความสูง 7,620 เมตร
  • อัตราไต่: 24.1 เมตร/ วินาที
  • รัศมีทำการรบ: 2,100 กิโลเมตร
  • อาวุธ: ปืนใหญ่อากาศ Hispano M2(C) ขนาด 20 มม. 1 กระบอก / ปืนกล M2 Browning ขนาด 12.7 มม. 4 กระบอก

อ้างอิง

[แก้]
  1. Master Sgt. John DeShetler (20 พฤศจิกายน 2006), 'Lightning' strikes 1st Pursuit Group, United States Air Force
  2. "Honduran Air Force". aeroflight.co.uk. Retrieved: 10 October 2010.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Donald
  4. "Army Air Forces Statistical Digest – World War II. Table 82—Average Cost of Airplanes Authorized, by principal model: Fiscal Years 1939–1945". เก็บถาวร 2 พฤศจิกายน 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน maxwell.af.mil. Retrieved: 7 February 2009.
  5. Boyne 1993, p. 148.
  6. "P-38 Lightning". National Museum of the United States Air Force. Retrieved 21 January 2007.
  7. Stanaway 1997
  8. "PTO/CBI Pilots of WWII, Top American aces of the Pacific & CBI" เก็บถาวร 2006-03-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. acepilots.com. Retrieved: 8 May 2007.
  9. Bodie 2001, p. xvi.
  10. Berliner 2011, p. 14.