อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย (เคียฟ)
หน้าตา
อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย | |
---|---|
Собо́р Свято́ї Софі́ї | |
50°27′10″N 30°30′52″E / 50.45278°N 30.51444°E | |
ที่ตั้ง | ปูชนียสถานแห่งชาติ "โซเฟียแห่งเคียฟ" หมู่อาคารอาสนวิหารโซเฟียอันศักดิ์สิทธิ์ เขตแชวแชนกิวสกืย เคียฟ |
ประเทศ | ประเทศยูเครน |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
ประวัติ | |
อุทิศแก่ | ฮาเกียโซเฟีย |
สถาปัตยกรรม | |
การขึ้นทะเบียน | สิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของยูเครน[1] |
รูปแบบสถาปัตย์ | ไบแซนไทน์, บารอกยูเครน |
ปีสร้าง | ศตวรรษที่ 11 |
โครงสร้าง | |
อาคารยาว | 29.5 เมตร (97 ฟุต) |
อาคารกว้าง | 29.3 เมตร (96 ฟุต) |
ความสูงโดม (ภายนอก) | 28.6 เมตร (94 ฟุต) |
ชื่อทางการ | เคียฟ: อาสนวิหารนักบุญโซเฟียและสิ่งปลูกสร้างอารามที่เกี่ยวข้อง และกือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา |
ที่ตั้ง | ยุโรป |
เกณฑ์พิจารณา | i, ii, iii, iv |
อ้างอิง | 527 |
ขึ้นทะเบียน | 1990 (สมัยที่ 14th) |
อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย ในกรุงเคียฟ ประเทศยูเครน เป็นอาสนวิหารและหนึ่งในหมุดหมายสำคัญของเคียฟที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งมรดกโลกแห่งแรกของประเทศยูเครนซึ่งยูเนสโกขึ้นทะเบียนร่วมกับหมู่อารามถ้ำเคียฟ[2][nb 1] อาสนวิหารประกอบด้วยตัวอาคารหลัก, หอระฆัง และที่ประทับของมุขนายกมหานคร (київських митрополитів) ใน ค.ศ. 2011 แหล่งโบราณสถานได้รับการถ่ายโอนมาอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงวัฒนธรรมยูเครน[4][5]
ชื่อในภาษายูเครนของอาสนวิหารคือ Собо́р Свято́ї Софі́ї [Sobór Sviatói Sofíi ] หรือ Софі́йський собо́р [Sofíiskyi sobór ]
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ช่วงปลายปี 2010 ยูเนสโกได้ไปเยือนหมู่อารามถ้ำเคียฟในภารกิจตรวจสอบ เพื่อติดตามสถานการณ์ของสถานที่ดังกล่าว ในขณะนั้นรัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรมยูเครน มือคัยลอ กูลึนยัก ระบุว่าสถานที่ทางประวัติศาสตร์และอาสนวิหารนักบุญโซเฟียไม่ได้ถูกคุกคามจากการขึ้น "บัญชีดำ" ขององค์กร[3] คณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโกได้ตัดสินใจในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2013 ว่าหมู่อารามถ้ำเคียฟและอาสนวิหารนักบุญโซเฟีย พร้อมด้วยอารามที่เกี่ยวข้องจะยังคงอยู่ในรายชื่อมรดกโลก[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "7 чудес України - Новини". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 สิงหาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2015.
- ↑ 2.0 2.1 "Kyiv Pechersk Lavra, St. Sophia Cathedral remain on UNESCO's World Heritage List". Interfax-Ukraine. 20 มิถุนายน 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 มิถุนายน 2013.
- ↑ "Міністерство культури України". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กรกฎาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2015.
- ↑ "Міністерство культури України". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 กรกฎาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2015.
- ↑ Градоблянська Т. (9 กุมภาพันธ์ 2011). Міністерств багато, а Софія Київська – одна [There are many ministries, but Sophia of Kyiv is one]. Голос України. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 กรกฎาคม 2012.
บรรณานุกรม
[แก้]- Г. П. Пашкоў; และคณะ, บ.ก. (1999). Кіеўскі Сафійскі сабор. Беларуская энцыклапедыя (ภาษาเบลารุส). Vol. 8. Мінcк: БелЭн. p. 255. ISBN 985-11-0144-3.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย (เคียฟ)
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ (ในภาษายูเครน)
- 3D-model of Sophia Cathedral (3.2 เมกะไบต์)
- Holy Sophia Cathedral Сайт історії Києва
- Sobory.ru - ข้อมูลเกี่ยวกับอาสนวิหาร (ในภาษารัสเซีย)
- Travel.kyiv.org - ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
- Mosaics and frescoes of St. Sophia Cathedral. Христианство в искусстве.
- Софійський собор in Wiki-Encyclopedia Kyiv (ในภาษายูเครน)
- "Private tours in Kiev – №1 – Saint Sophia Cathedral". Kiev-Assist Ukraine (ภาษาอังกฤษ).
- Mosaics and Frescoes of Saint Sophia Cathedral of Kyiv. Photoalbum. Kyiv: Mistectvo. 1975.