เคะ
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | ke | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | ge | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ฮันดากูเต็ง | (nge) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
計 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
介 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | 景色のケ (เคะชิกิ โนะ เคะ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | -・-- | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+3051, U+30B1 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
เคะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า け มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 計 และคะตะกะนะเขียนว่า ケ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 介 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋe] กับ [ɣe] ในพยางค์อื่น
け เป็นอักษรลำดับที่ 9 อยู่ระหว่าง く (คุ) กับ こ (โคะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ け เป็นอักษรลำดับที่ 31 อยู่ระหว่าง ま (มะ) กับ ふ (ฟุ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | ke | け | ケ | เคะ-เกะ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
ge | げ | ゲ | เกะ-เงะ | ธรรมดา +ฮันดะกุเต็ง |
(nge) | け゚ | ケ゚ | เงะ |
kei kē |
けい, けぃ けえ, げぇ けー, け~ |
ケイ, ケィ ケエ, ケェ ケー, ケ~ |
เค-เก | gei gē |
げい, げぃ げえ, げぇ げー, げ~ |
ゲイ, ゲィ ゲエ, ゲェ ゲー, ゲ~ |
เก-เง | (ngei) (ngē) |
け゚い, け゚ぃ け゚え, け゚ぇ け゚ー, け゚~ |
ケ゚イ, ケ゚ィ ケ゚エ, ケ゚ェ ケ゚ー, ケ゚~ |
เง |
อักษรแบบอื่น
[แก้]อักษรแบบอื่นของเคะคือคะนะขนาดเล็ก ゖ, ヶ ใช้กำกับตัวเลขหรือคันจิตัวเลขเพื่อแสดงหน่วยนับ อ่านได้หลายอย่างได้แก่ か, が, こ (เสียงแรกสามารถใช้ ゕ, ヵ แทนได้) บางสำเนียงอ่านเป็น け, っけ เมื่ออยู่ท้ายคำ ตัวอย่างเช่น 3ヶ (สามอัน), 4ヶ所 (สี่แห่ง), 5ヶ条 (ห้าบท), 6ヶ月 (หกเดือน) ดูเพิ่มที่ เคะตัวเล็ก
ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนเคะ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนเคะ け゚, ケ゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋe]
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
け | U+3051 | 1-4-17 | ฮิระงะนะ เคะ |
げ | U+3052 | 1-4-18 | ฮิระงะนะ เกะ |
ゖ | U+3096 | 1-4-86 | ฮิระงะนะ เคะ ตัวเล็ก |
け゚ | U+3051 U+309A | 1-4-90 | ฮิระงะนะ เงะ |
ケ | U+30B1 | 1-5-17 | คะตะกะนะ เคะ |
ゲ | U+30B2 | 1-5-18 | คะตะกะนะ เกะ |
ヶ | U+30F6 | 1-5-86 | คะตะกะนะ เคะ ตัวเล็ก |
ケ゚ | U+30B1 U+309A | 1-5-90 | คะตะกะนะ เงะ |
㋘ | U+32D8 | 1-12-67 | คะตะกะนะ เคะ ในวงกลม |
ケ | U+FF79 | ไม่มี | คะตะกะนะ เคะ ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ け มีลำดับขีด 3 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นตั้งจากบนลงล่าง โดยโค้งออกซ้ายเล็กน้อย แล้วตวัดขึ้นที่ปลาย
- ขีดเส้นนอนในตำแหน่งกึ่งบน ถัดจากเส้นแรกไปทางขวา
- ขีดเส้นตั้งจากบนลงล่างให้ตัดกับเส้นที่สอง ปลายเส้นโค้งงอไปทางซ้าย
คะตะกะนะ ケ มีลำดับขีด 3 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นโค้งลงทางซ้าย จากด้านบนถึงกึ่งกลาง
- ขีดเส้นนอนจากซ้ายไปขวา โดยเริ่มที่กึ่งกลางของเส้นแรก
- ขีดเส้นโค้งลงทางซ้าย โดยเริ่มที่กึ่งกลางของเส้นที่สอง
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าเคะ และขึ้นต้นด้วยเคะ มีดังนี้
- 卦 袈 祁 係 傾 刑 兄 啓 圭 珪 型 契 形 径 恵 慶 慧 憩 掲 携
- 敬 景 桂 渓 畦 稽 系 経 継 繋 罫 茎 荊 蛍 計 詣 警 軽 頚 鶏
- 芸 迎 鯨 劇 戟 撃 激 隙 桁 傑 欠 決 潔 穴 結 血 訣 月 件 倹
- 倦 健 兼 券 剣 喧 圏 堅 嫌 建 憲 懸 拳 捲 検 権 牽 犬 献 研
- 硯 絹 県 肩 見 謙 賢 軒 遣 鍵 険 顕 験 鹸 元 原 厳 幻 弦 減
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)
ดูเพิ่ม
[แก้]- เคะตัวเล็ก (ゖ, ヶ)