ข้ามไปเนื้อหา

เมสเซนเจอร์ (ซอฟต์แวร์)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมสเซนเจอร์
นักพัฒนาเมตา
วันที่เปิดตัว9 สิงหาคม 2011; 13 ปีก่อน (2011-08-09)
เมษายน 2020; 4 ปีที่แล้ว (2020-04)
ระบบปฏิบัติการเว็บ, แอนดรอยด์, ไอโอเอส, วินโดวส์ 10, วินโดวส์ 11, แมคโอเอส
ขนาด39.86 เมกะไบต์ (แอนดรอยด์)[1]
122.1 เมกะไบต์ (ไอโอเอส)[2]
169.4 เมกะไบต์ (วินโดวส์ 10 และ 11)[3]
118.2 เมกะไบต์ (แมคโอเอส)[4]
ภาษา111[5] ภาษา
รายชื่อภาษา
อาฟรีกานส์, แอลเบเนีย, อัมฮาริก, อาหรับ, อาร์มีเนีย, อัสสัม, อาเซอร์ไบจาน, บาสก์, เบลารุส, เบงกอล, บอสเนีย, เบรอตง, บัลแกเรีย, พม่า, กาตาวา, เซบัวโน, คอร์ซิกา, โครเอเชีย, เช็กเกีย, เดนมาร์ก, ดัตช์, ดัตช์ (เบลเยียม), อังกฤษ (สหราชอาณาจักร), อังกฤษ (สหรัฐ), อังกฤษ (กลับหัว), เอสเปรันโต, เอสโตเนีย, แฟโร, ฟิลิปิโน, ฟินแลนด์, ฝรั่งเศส (แคนาดา), ฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส), ฟรีเซีย, ฟูลา, กาลิเซีย, จอร์เจีย, เยอรมัน, กรีก, กวารานี, คุชราต, ครีโอลเฮติ, เฮาซา, ฮีบรู, ฮินดี, ฮังการี, ไอซ์แลนด์, อินโดนีเซีย, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ญี่ปุ่น, ญี่ปุ่น (คันไซ), ชวา, กันนาดา, คาซัค, เขมร, กิญญาร์วันดา, เกาหลี, เคิร์ด (กุรมันชี), คีร์กีซ, ลาว, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, มาซิโดเนีย, มาลากาซี, มลายู, มลยาฬัม, มอลตา, มราฐี, มองโกเลีย, เนปาล, นอร์เวย์ (bokmal), นอร์เวย์ (nynorsk), โอริยา, ปาทาน, เปอร์เซีย, โปแลนด์, โปรตุเกส (บราซิล), โปรตุเกส (โปรตุเกส), ปัญจาบ, โรมาเนีย, รัสเซีย, ซาร์ดิเนีย, เซอร์เบีย, โชนา, ไซลีเชีย, จีนตัวย่อ (จีน), สิงหล, สโลวัก, สโลวีเนียง, โซมาลี, เคิร์ดโซรานี, สเปน, สเปน (สเปน), สวาฮิลี, สวีเดน, ซิรีแอก, ทาจิก, ทามาไซต์, ทมิฬ, ตาตาร์, เตลูกู, ไทย, จีนตัวเต็ม (ฮ่องกง), จีนตัวเต็ม (ไต้หวัน), ตุรกี, ยูเครน, อุรดู, อุซเบก, เวียดนาม, เวลส์ และซาซา
ประเภทระบบส่งข้อความทันที, วอยซ์โอเวอร์ไอพี
สัญญาอนุญาตฟรีแวร์, จำกัดสิทธิ์
เว็บไซต์Messenger.com
fb.com/messages

เมสเซนเจอร์ (อังกฤษ: Messenger)[6] เป็นแอปและแพลตฟอร์มส่งข้อความทันทีที่พัฒนาโดยเฟซบุ๊ก (ปัจจุบันคือเมตา) ใน ค.ศ. 2008 เคยพัฒนาในชื่อ เฟซบุ๊กแชต (Facebook Chat) จากนั้นบริษัทปรับปรุงบริการใหม่ใน ค.ศ. 2010 เผยแพร่แอสำหรับไอโอเอสและแอนดรอยด์ใน ค.ศ. 2011 และในเดือนเมษายน ค.ศ. 2020 ทางเฟซบุ๊กจึงเผยแพร่เมสเซนเจอร์แบบเดสก์ท็อปสำหรับวินโดวส์และแมคโอเอส

มีการใช้เมสเซนเจอร์ส่งข้อความและแลกเปลี่ยนภาพ, วิดีโอ, สติกเกอร์, เสียง และไฟล์ และยังสามารถตอบรับข้อความของผู้อื่น และพูดคุยกับบอตจักรกลสนทนา บริการนี้ยังสนับสนุนเสียงและการโทรด้วยวิดีโอ

การเติบโตของผู้ใช้

[แก้]

หลังแยกออกจากแอปเฟซบุ๊กหลัก เมสเซนเจอร์มีผู้ใช้งาน 600 ล้านคนในเดือนเมษายน ค.ศ. 2015[7] แล้วเติบโตขึ้นเป็น 900 ล้านคนในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2016[8] 1 พันล้านคนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2016[9][10] และ 1.2 พันล้านคนในเดือนเมษายน ค.ศ. 2017[11][12]

ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2020 จราจรการส่งข้อความในประเทศที่ต้องกักตนเองจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 และมีการโทรกลุ่มเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 1,000[13]

โลโก้

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Facebook Messenger – Text and Video Chat for Free APKs". APKMirror (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-07-26.
  2. "Facebook Messenger". App Store (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-10-16.
  3. "Facebook Messenger". Microsoft Store. Microsoft. July 22, 2020. สืบค้นเมื่อ July 22, 2020.
  4. "Facebook Messenger". Mac App Store (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-07-26.
  5. "Facebook Interface Languages". Facebook (Select your language).
  6. Stenovec, Timothy (August 13, 2014). "The Real Reason Facebook Is Forcing You To Download Messenger". The Huffington Post. AOL. สืบค้นเมื่อ March 24, 2017.
  7. Constine, Josh (April 27, 2015). "Facebook Messenger Launches Free VOIP Video Calls Over Cellular And Wi-Fi". TechCrunch. AOL. สืบค้นเมื่อ March 24, 2017.
  8. Constine, Josh (June 14, 2016). "To beat SMS, Facebook Messenger eats SMS". TechCrunch. AOL. สืบค้นเมื่อ March 25, 2017.
  9. Singleton, Micah (July 20, 2016). "Facebook Messenger hits 1 billion users". The Verge. Vox Media. สืบค้นเมื่อ March 25, 2017.
  10. Wagner, Kurt (July 20, 2016). "Facebook Messenger now has one billion active users". Recode. Vox Media. สืบค้นเมื่อ March 25, 2017.
  11. Constine, Josh (April 12, 2017). "Facebook Messenger hits 1.2 billion monthly users, up from 1B in July". TechCrunch. AOL. สืบค้นเมื่อ April 13, 2017.
  12. Wagner, Kurt; Molla, Rani (April 12, 2017). "Facebook Messenger has 1.2 billion users and is now twice the size of Instagram". Recode. Vox Media. สืบค้นเมื่อ April 13, 2017.
  13. "Facebook group calls soar 1,000% in Italy lockdown". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-03-25. สืบค้นเมื่อ 2020-03-25.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]