การรุกไครเมีย
หน้าตา
การรุกไครเมีย | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
ทหารโซเวียตกำลังข้ามอ่าวซิวัชเข้าสู่ไครเมีย | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหภาพโซเวียต |
ไรช์เยอรมัน โรมาเนีย บัลแกเรีย[1] | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
ฟิโอดอร์ ตอลบูคิน ฟีลิปป์ ออคเตียบร์สกี |
Erwin Jaenecke Horia Macellariu | ||||||
กำลัง | |||||||
462,400 men[2][3] 560 tanks and assault guns 6,000 guns 1,200 aircraft | 1,815 guns | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
84,819 17,754 killed or missing 67,065 wounded or sick 171 tanks 521 guns 179 aircraft[2][3] Losses at sea: 1 submarine 1 motor torpedo boat 12+ aircraft |
96,700[5] 31,700 killed or missing 33,400 wounded 25,800 killed or missing 5,800 wounded Losses at sea: 4 submarine hunters 5 cargo ships 1 tanker 3 tugs 3 lighters 3 motorboats 3 cargo ships |
แม่แบบ:Campaignbox Crimea and Caucasus แม่แบบ:Campaignbox Stalin's ten blows
แม่แบบ:Romanian military actions in World War IIการรุกไครเมีย (8 เมษายน-12 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นที่รู้จักกันในแหล่งข้อมูลเยอรมันว่า ยุทธการที่ไครเมีย เป็นหนึ่งในการรุกโดยกองทัพแดงซึ่งได้เคลื่อนทัพเข้าสู่ไครเมียที่เยอรมันยึดครอง แนวรบยูเครนที่ 4 ของกองทัพแดงได้เข้าปะทะกับกองทัพที่ 17 ของกองทัพกลุ่มเอของเยอรมัน ซึ่งประกอบไปด้วยกองทัพเวร์มัคท์และกองทัพโรมาเนียที่ก่อตั้งขึ้น การสู้รบครั้งนี้ได้ยุติลงด้วยการอพยพออกจากไครเมียโดยเยอรมัน กองทัพเยอรมันและโรมาเนียต้องประสบความสูญเสียอย่างมากในช่วงการอพยพ