ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติคูเวต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คูเวต
ฉายาอัลอัซร็อก (น้ำเงิน)
(คลื่นน้ำเงิน)
สมาคมสมาคมฟุตบอลคูเวต
สมาพันธ์ย่อยWAFF (เอเชียตะวันตก)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนRui Bento
กัปตันฟะฮัด อัลอันศอรี
ติดทีมชาติสูงสุดบัดร์ อัลมุเฏาะวะอ์ (196)[1]
ทำประตูสูงสุดบัชชาร อับดุลลอฮ์ (75)
สนามเหย้าสนามกีฬานานาชาติญาบิร อัลอะห์มัด
รหัสฟีฟ่าKUW
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 137 เพิ่มขึ้น 2 (20 มิถุนายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด24 (ธันวาคมber 1998)
อันดับต่ำสุด189 (ธันวาคม 2017)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติคูเวต คูเวต 2–2 ลิเบีย ธงชาติลิเบีย
(ประเทศโมร็อกโก; 3 กันยายน ค.ศ. 1961)
ชนะสูงสุด
ธงชาติคูเวต คูเวต 20–0 ภูฏาน ธงชาติภูฏาน
(คูเวตซิตี ประเทศคูเวต; 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000)
แพ้สูงสุด
ธงชาติสหสาธารณรัฐอาหรับ สหสาธารณรัฐอาหรับ 8–0 คูเวต ธงชาติคูเวต
(ประเทศโมร็อกโก; 4 กันยายน ค.ศ. 1961)
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 8–0 คูเวต ธงชาติคูเวต
(ไลรีอา ประเทศโปรตุเกส; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1982)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม, (1982)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม10 (ครั้งแรกใน 1972)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1980)
อาหรับคัพ
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1963)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (1964, 1992, 1998)
WAFF Championship
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2010)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2010)
เว็บไซต์kuwait-fa.org

ฟุตบอลทีมชาติคูเวต (อาหรับ: منتخب الكويت لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศคูเวต อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลคูเวต ทีมชาติคูเวตนี้มีผลงานในระดับโลกมาแล้ว โดยร่วมเล่นในฟุตบอลโลกหนึ่งครั้งใน ฟุตบอลโลก 1982 โดยในการแข่งขันได้เสมอกับ ทีมชาติเช็กโกสโลวาเกีย แต่แพ้สองครั้งให้กับทีมชาติอังกฤษ และทีมชาติฝรั่งเศส สำหรับในระดับทวีปเอเชียนั้น ทีมคูเวตได้แชมป์การแข่งขันเอเชียนคัพหนึ่งครั้งใน เอเชียนคัพ 1980

ผลงาน

[แก้]
  • 1930-1970 - ไม่ได้ร่วมเล่น
  • 1974-1978 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1982 - รอบแรก
  • 1986-2014 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2018 - ถูกตัดสิทธิ์จากรอบคัดเลือก
  • 2022 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1956-1968 - ไม่ได้ร่วมเล่น
  • 1972 - รอบแรก
  • 1976 - อันดับสอง
  • 1980 - ชนะเลิศ
  • 1984 - อันดับสาม
  • 1988 - รอบแรก
  • 1992 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1996 - อันดับสี่
  • 2000 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2004 - รอบแรก
  • 2007 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2019 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2023 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

ฟุตบอลกัล์ฟคัพสำหรับทีมชาติในเอเชียตะวันตก

  • ชนะเลิศ 9 ครั้ง - 1970, 1972, 1974, 1976, 1982, 1986, 1990, 1996, 1998

อ้างอิง

[แก้]
  1. "FIFA Century Club des Cent del la FIFA Club de los Cien de la FIFA" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ September 5, 2015.
  2. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]