ข้ามไปเนื้อหา

อัมมาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เขตผู้ว่าราชการอัมมาน)
อัมมาน

عمان ʿAmmān
เมืองหลวง
Amman city landmarks, From right to left and above to below: Amman's skyline as seen from Sport city, Temple of Hercules at Amman Citadel, Omayyad Palace, Ottoman Hejaz Railway station, Roman theater, Abdoun Bridge, King Abdullah I Mosque and Raghadan Flagpole.
Amman city landmarks, From right to left and above to below: Amman's skyline as seen from Sport city, Temple of Hercules at Amman Citadel, Omayyad Palace, Ottoman Hejaz Railway station, Roman theater, Abdoun Bridge, King Abdullah I Mosque and Raghadan Flagpole.
อัมมานตั้งอยู่ในจอร์แดน
อัมมาน
อัมมาน
พิกัด: 31°56′59″N 35°55′58″E / 31.94972°N 35.93278°E / 31.94972; 35.93278
ประเทศ จอร์แดน
เขตผู้ว่าราชการCapital Governorate
Founded7000 BC
Municipality1909
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีอับดุล ฮาลิม กีลานี
พื้นที่
 • เมืองหลวง1,680 ตร.กม. (650 ตร.ไมล์)
ความสูงจุดสูงสุด1,100 เมตร (3,600 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด700 เมตร (2,300 ฟุต)
ประชากร
 (2010)[1][2]
 • เขตเมือง1,919,000 คน
 • รวมปริมณฑล2,125,000 คน
เขตเวลาGMT +3
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)+3 Arabic Standard Time
Postal code11110-17198
รหัสพื้นที่+962(6)
เว็บไซต์Amman City

อัมมาน (อังกฤษ: Amman; อาหรับ: عمان ʿAmmān ) เป็นเมืองหลวงของประเทศจอร์แดนและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจอร์แดน มีประชากรประมาณ 3 ล้านกว่าคน

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของอัมมาน
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 12.3
(54.1)
13.7
(56.7)
17.2
(63)
22.6
(72.7)
27.8
(82)
30.8
(87.4)
32.0
(89.6)
32.4
(90.3)
30.7
(87.3)
27.1
(80.8)
20.4
(68.7)
14.4
(57.9)
23.45
(74.21)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 3.6
(38.5)
4.2
(39.6)
6.1
(43)
9.5
(49.1)
13.5
(56.3)
16.6
(61.9)
18.5
(65.3)
18.6
(65.5)
16.6
(61.9)
13.8
(56.8)
9.3
(48.7)
5.2
(41.4)
11.29
(52.33)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 63.4
(2.496)
61.7
(2.429)
43.1
(1.697)
13.7
(0.539)
3.3
(0.13)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0.3
(0.012)
6.6
(0.26)
28.0
(1.102)
49.2
(1.937)
269.3
(10.602)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 11.0 10.9 8.0 4.0 1.6 0.1 0 0 0.1 2.3 5.3 8.4 51.7
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 179.8 182.0 226.3 266.6 328.6 369.0 387.5 365.8 312.0 275.9 225.0 179.8 3,298.3
แหล่งที่มา 1: World Meteorological Organization[3]
แหล่งที่มา 2: Hong Kong Observatory(sun, 1961-1990)[4]

เขตการปกครอง

[แก้]

[5]

1 อัลอับดาลิ 4 อัลจเวด์ 7 อัลมูแวคแควร์ 10 เบเดอร์อีจาดิดา 13 อัลจูเบฮา 16 มาร์กา 19 อะฮอด 22 ซาฟาบาดแรน 25 ทลาอาลิ
2 อาบูเนเซอร์ 5 ยาร์แมค 8 อัลมาควาบาเลน 11 แบสแมน 14 ซเรย์เบตอีซัคว์ 17 มาไดนา 20 รัสซิลลีน 23 ซูเวย์ลิห์ 26 แวดิเซอร์
3 อัมโอเซย์นา 6 จิซาห์ 9 แบเดอร์ 12 ฮัสแบน 15 อาจอัลฮานัม 18 นาอัวร์ 21 ซาฮาบ 24 ทาเร็ค 27 ซาห์ราน
ภาพถ่ายทางอากาศของอัมมาน
วงเวียนในอัมมาน
ถนนหน้าโรงภาพยนตร์สายรุ้ง

การคมนาคม

[แก้]

ท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอัมมาน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติควีนอัลเลีย ห่างจากอัมมานไปทางใต้ 30 km (18.64 mi) เป็นท่าอากาศยานหลักในประเทศจอร์แดน ท่าอากาศยานนี้มีทั้งหมด 3 อาคาร อาคารผู้โดยสาร 2 แห่งและอาคารสินค้า 1 แห่ง ในปี ค.ศ. 201 มีผู้โดยสารมาใช้บริการถึง 5.8 คน ปัจจุบันอยู่ระหว่างสร้างส่วนต่อขยายอาคารผู้โดยสารใหม่ โดยมีงบประมาณ $700M ซึ่งจะรับรองผู้โดยสารได้มากกว่า 12 ล้านคน

ท่าอากาศยานอัมมานซิวิล เป็นท่าอากาศยานอีกแห่งที่ใช้รับรองผู้โดยสารในประเทศ[6]

เศรษฐกิจ

[แก้]

อัมมานเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจหลักของประเทศจอร์แดน ตั้งแต่ การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 ธุรกิจทั้งหมดได้ไหลเวียนสู่อัมมาน และท่าอากาศยานนานาชาติควีนอัลเลีย ก็เป็นจุดศูนยกลางของนักเดินทางชาวต่างชาติ[7] สายการบินทั้งหมดมีที่ทำการที่อัมมาน[8]

นอกจากนี้ อัมมานยังเป็นแหล่งนำเข้ายาที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีคนไข้ชาวต่างชาติ 250,000 คน มีรายได้ 1 พันล้านดอลลาร์ต่อปี[9]

การศึกษา

[แก้]
ดูเพิ่มที่ รายชื่อมหาวิทยาลัยนประเทศจอร์แดน

วัฒนธรรม

[แก้]

อาหาร

[แก้]

เดอะนิวยอร์กไทมส์ ได้กล่าวถึงอาหารอัมมานในตอนหนึ่งว่า

You’ll find the bright vegetables from Lebanon, crunchy falafels from Syria, juicy kebabs from Egypt and, most recently, spicy meat dishes from Jordan’s neighbor, Iraq. It’s known as the food of the Levant — an ancient word for the area bounded by the Mediterranean Sea and the Arabian peninsula. But the food here isn’t just the sum of its calories. In this politically, religiously and ethnically fraught corner of the world, it is a symbol of bloodlines and identity.[10]

กีฬา

[แก้]

กีฬาที่นิยมเล่นกันคือ ฟุตบอล และมีนักกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิเช่น Al-Wehdat และ Al-Faisaly

สื่อ

[แก้]

หนังสือพิมพ์ที่นิยมวางขายในอัมมาน ได้แก่ Alghad,[11] Ad-Dustour,[12] และ The Jordan Times.[11]

สถานที่สำคัญ

[แก้]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

[13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Amman - frendy.de
  2. "Amman population in 2011 - Evi". Trueknowledge.com. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  3. "World Weather Information Service – Amman". World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-09. สืบค้นเมื่อ February 22, 2013.
  4. "Climatological Information for Amman, Jordan". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-26. สืบค้นเมื่อ February 22, 2013.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-19. สืบค้นเมื่อ 2013-03-23.
  6. "Accelerating passenger growth at Jordan's QAIA suggests confidence returning". Al Bawaba. 2011-08-01. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  7. "Royal Jordanian". oneworld. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-30. สืบค้นเมื่อ 2010-07-04.
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-14. สืบค้นเมื่อ 2013-07-29.
  9. "'Jordan remains medical tourism hub despite regional unrest'". The Jordan Times. 2012-03-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-03. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  10. Pergament, Danielle (January 13, 2008). "All the Foods of the Mideast at Its Stable Center". The New York Times.
  11. 11.0 11.1 "الرأي الأردنية | أخبار الأردن والشرق الأوسط والعالم|صحيفة يومية تصدر في عمان الأردن". Alrai.com. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  12. ":: جريدة الدستور ::". Addustour.com. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  13. "Amman's Relations with Other Cities". Ammancity.gov.jo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-02. สืบค้นเมื่อ 2012-11-28.
  14. "Sister Cities". Beijing Municipal Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-17. สืบค้นเมื่อ 2009-06-23.
  15. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-24. สืบค้นเมื่อ 2013-07-29.
  16. "International Relations – São Paulo City Hall – Official Sister Cities". Prefeitura.sp.gov.br. สืบค้นเมื่อ 2010-07-04.
  17. Chicago Commission on Human Relations (2010). 2010 Annual Report (PDF). p. 22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-26. สืบค้นเมื่อ 2013-07-29.
  18. "Milano – Città Gemellate". © 2008 Municipality of Milan (Comune di Milano). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-10. สืบค้นเมื่อ 2009-07-17.
  19. "Sarajevo Official Web Site: Sister cities". Sarajevo.ba. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-12. สืบค้นเมื่อ 2009-05-06.
  20. "Mayor Newsom Signs New Sister City Agreements with City of Amman, Jordan" (Press release). San Francisco Office of the Mayor. April 23, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-28. สืบค้นเมื่อ September 16, 2012.