เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ
หน้าตา
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก[1] ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรับ
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ
[แก้]เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับในอดีต
[แก้]- ค.ศ. 1996: ไคโร[2], ประเทศอียิปต์
- ค.ศ. 1997: ตูนิส[3], ประเทศตูนีเซีย
- ค.ศ. 1998: ชาร์จาห์[4], สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- ค.ศ. 1999: เบรุต[1], ประเทศเลบานอน
- ค.ศ. 2000: ริยาด[5] , ประเทศซาอุดีอาระเบีย
- ค.ศ. 2001: คูเวตซิตี[6] , ประเทศคูเวต
- ค.ศ. 2002: อัมมาน[7], ประเทศจอร์แดน
- ค.ศ. 2003: ราบัต[6], ประเทศโมร็อกโก
- ค.ศ. 2004: ซานา[8], ประเทศเยเมน
- ค.ศ. 2005: คาร์ทูม[9], ประเทศซูดาน
- ค.ศ. 2006: มัสกัต[10], ประเทศโอมาน
- ค.ศ. 2007: แอลเจียร์[11], ประเทศแอลจีเรีย
- ค.ศ. 2008: ดามัสกัส[12], ประเทศซีเรีย
- ค.ศ. 2009: อัลกุดส์[13][14], ประเทศปาเลสไตน์[i]
- ค.ศ. 2010: โดฮา[15], ประเทศกาตาร์
- ค.ศ. 2011: เซิร์ต, ประเทศลิเบีย
- ค.ศ. 2012: มานามา[16], ประเทศบาห์เรน
- ค.ศ. 2013: แบกแดด[17], ประเทศอิรัก
- ค.ศ. 2014: ตริโปลี[17], ประเทศลิเบีย
- ค.ศ. 2015: กงส์ต็องตีน, ประเทศแอลจีเรีย
- ค.ศ. 2016: สฟักซ์, ประเทศตูนิเซีย
- ค.ศ. 2017: ลักซอร์[18] , ประเทศอียิปต์
- ค.ศ. 2018: อุจดา[19], ประเทศโมร็อกโก
- ค.ศ. 2019: พอร์ตซูดาน[20], ประเทศซูดาน
- ค.ศ. 2020: เบธเลเฮม[20], ประเทศปาเลสไตน์
- ค.ศ. 2021: อิรบิด[20], ประเทศจอร์แดน
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในขณะนี้
[แก้]- ค.ศ. 2022: คูเวตซิตี[20], ประเทศคูเวต
เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในอนาคต
[แก้]- ค.ศ. 2023: ตรีโปลี[20], ประเทศเลบานอน
หมายเหตุ
[แก้]i. | ^ รางวัลของเยรูซาเลมเป็นของ "ปาเลสไตน์"[21] แต่อิสราเอลควบคุมเยรูซาเลมทั้งหมด ซึ่งรวมไปถึงเยรูซาเลมตะวันออก (ยึดครองตอนสงครามหกวันใน ค.ศ. 1967 และเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง) และตั้งเป็นเมืองหลวงโดยฝ่ายเดียว และออกพระราชบัญญัติกฎหมายเยรูซาเลมเพื่อให้มีผลต่อการประณามการย้ายโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เยรูซาเลมถูกตั้งเป็นเมืองหลวงของรัฐปาเลสไตน์ (อาหรับ: دولة فلسطين, อักษรโรมัน: Dawlat Filastin) โดยองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ในปี ค.ศ. 1988 และอีกครั้งโดยสภานิติบัญญัติปาเลสไตน์ในพฤษภาคม ค.ศ. 2002[22] ปาเลสไตน์เป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ และจากนั้นอัมร์ มูซา เลขาธิการสันนิบาตอาหรับ ได้สนับสนุนรัฐมนตรีอาหรับที่ตัดสินใจให้เลือกเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในปี ค.ศ. 2009 สถานะสุดท้ายของเมืองยังคงต้องรอผลของการเจรจาระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ "Negotiating Jerusalem", University of Maryland และ Positions on Jerusalem) |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Herbert, Ian; Nicole Leclercq; International Theatre Institute (2003). The World of Theatre: An Account of the World's Theatre Seasons 1999-2000, 2000-2001 and 2001-2002. Routledge. p. 225. ISBN 0-415-30621-3.
- ↑ alquds2009 เก็บถาวร 2011-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "Human Civilizations and Cultures: from Dialogue to Alliance". ISESCO. 1 February 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 13, 2010. สืบค้นเมื่อ 28 August 2009.
- ↑ Sayyid Hamid, Hurreiz (2002). Folklore and Folklife in the United Arab Emirates. Routledge. p. 63. ISBN 0-7007-1413-8.
- ↑ Peter Harrigan (July–August 2000). "Riyadh: Arab Cultural Capital 2000". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-18. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
- ↑ 6.0 6.1 "Para fomentar el debate democrático". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 August 2009.
- ↑ Hada Sarhan (December 12, 2001). "Jordan braces for Amman Cultural Capital of the Arab World 2002". Jordan Embassy US (Original in Jordan Times). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 1, 2012. สืบค้นเมื่อ 2009-08-29.
- ↑ "SANA'A as the Capital of Arabic Culture 2004". Yemen News Agency (SABA). September 3, 2003. สืบค้นเมื่อ 2020-06-24.
- ↑ Bernard Jacquot. "Khartoum, Arab Cultural Capital 2005". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-09. สืบค้นเมื่อ 2022-01-22.
- ↑ http://www.magharebia.com/cocoon/awi/xhtml1/en_GB/features/awi/reportage/2008/01/11/reportage-01
- ↑ "Damascus: The Arab cultural capital". Al Jazeera English. February 2, 2008. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
- ↑ Capitals of Arab Culture - Jerusalem (2009) เก็บถาวร กรกฎาคม 25, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Jerusalem: Capital of Arab Culture events jeopardized by occupation เก็บถาวร 2013-07-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Jerusalem was chosen in 2006
- ↑ TheNational - "Taking to the road to showcase Jerusalem"
- ↑ Hi-tech amphitheatre 'a beacon of culture' เก็บถาวร 2012-01-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Gulf Daily News
- ↑ 17.0 17.1 "NCCAL chief lauds outcome of Arab culture ministers' meeting". Kuwait News Agency. 2012-11-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-12-14.
- ↑ "Luxor Capital of Arab Culture events well underway this July". Egypt Today. July 17, 2017.
- ↑ "Oujda Named Capital of Arab Culture for 2018". International Federation of Arts Councils and Culture Agencies. December 2, 2017.
- ↑ 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 "The project of Arab cultural capitals and cities: 22 years later, diagnosis and perspectives". Culture of Peace News Network. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
- ↑ Under Occupation: Celebrations and Contradictions of al-Quds Capital of Arab Culture 2009 Jerusalem Quarterly, Summer 2009. "The celebration of al-Quds Jerusalem as the 2009 Capital of Arab Culture has been debated ever since the decision was made by the Ministers of Arab Culture in 2006 and accepted by Palestine."
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-16. สืบค้นเมื่อ 2009-08-07.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)