ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 14 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{กล่องข้อมูล |
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย |
||
| |
| name = คณะนิเทศศาสตร์<br> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
||
| |
| native_name = Faculty of Communication Arts,<br> Chulalongkorn University |
||
| image = Logo of Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University.svg |
|||
| อักษรย่อ = นศ. |
|||
| image_size = 200px |
|||
| ภาพ = [[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.png|150px]] |
|||
| caption = |
|||
| วันที่ก่อตั้ง = {{วันเกิดและอายุ|2508|7|5}} |
|||
| former_name = แผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ |
|||
⚫ | |||
| abbreviation = |
|||
| สีประจำคณะ = {{แถบสีสามกล่อง|darkblue}} [[สีน้ำเงิน]] |
|||
| motto = |
|||
⚫ | |||
| established = {{start date and age2|2508|7|5}} |
|||
| วารสารคณะ = วารสารนิเทศศาสตร์ <br> (J. of Communication Arts) |
|||
| founder = |
|||
⚫ | |||
| affiliation = [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
| colors = {{color box|#002D73}} [[สีน้ำเงิน]] |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
| logo = Faculty of Communication Arts, CU with Phra Kiao.svg |
|||
| logo_size = 280px |
|||
}} |
}} |
||
[[ไฟล์:Cunitade.JPG|thumb|180px|ตึกคณะนิเทศศาสตร์|right]] |
[[ไฟล์:Cunitade.JPG|thumb|180px|ตึกคณะนิเทศศาสตร์|right]] |
||
'''คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] |
'''คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] รับผิดชอบเป็นหน่วยงานระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาของรัฐ ที่ส่งเสริมดำเนินงานด้านการวิจัยและวิรัชกิจที่มีคุณภาพสูง ในแขนงด้านการสื่อสารมวลชน |
||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนวิชาการหนังสือพิมพ์ขึ้นตั้งแต่ |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนวิชาการหนังสือพิมพ์ขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2482 ซึ่งเป็นหลักสูตรในระดับอนุปริญญา สังกัดในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้มีการโอนการศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไปทำการสอนที่[[มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง]] โดยได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นการสิ้นสุดการสอนในสาขานิเทศศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่นั้นมา<ref>[http://www.commarts.chula.ac.th//history/milestone01.php จุดเริ่มต้นการศึกษาวิชานิเทศศาสตร์ในประเทศไทย]</ref> |
||
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชานิเทศศาสตร์อีกครั้งในแผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ สังกัดอยู่กับ[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะรัฐศาสตร์]] เมื่อวันที่ |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชานิเทศศาสตร์อีกครั้งในแผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ สังกัดอยู่กับ[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะรัฐศาสตร์]] เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ดังนั้น จึงถือเอาวันที่ 5 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนาคณะนิเทศศาสตร์ หลักจากนั้น ในปี พ.ศ. 2509 ได้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "แผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์" ซึ่งเป็นแผนกอิสระ มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีสีน้ำเงิน (Royal Blue) เป็นสีประจำแผนกอิสระฯ เนื่องจากสีน้ำเงินเป็นสีแทนน้ำหมึก และมีสัญลักษณ์เป็นสังข์แตร |
||
ในเวลาต่อมาจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "คณะนิเทศศาสตร์" เมื่อปี พ.ศ. 2517 นับเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์บำรุงสุข สีหอำไพ เป็นคณบดีคนแรก |
|||
⚫ | ปัจจุบันคณะนิเทศศาสตร์ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท (ตรงข้ามกับคณะวิทยาศาสตร์) ในพื้นที่บริเวณเดียวกับ[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะนิติศาสตร์]] โดยมีอาคารทำการของคณะฯ 3 อาคาร คือ อาคารนิเทศศาสตร์ 1 อาคารนิเทศศาสตร์ 2 และ'''อาคารมงกุฎสมมติวงศ์''' เป็นอาคารสูง 12 ชั้น เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ทางการสื่อสารมวลชนที่ทันสมัย และ'''อาคารพินิตประชานาถ'''ซึ่งเป็นอาคารเรียนส่วนกลางของมหาวิทยาลัยซึ่งใช้ร่วมกับ |
||
⚫ | ปัจจุบันคณะนิเทศศาสตร์ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท (ตรงข้ามกับคณะวิทยาศาสตร์) ในพื้นที่บริเวณเดียวกับ[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะนิติศาสตร์]] โดยมีอาคารทำการของคณะฯ 3 อาคาร คือ อาคารนิเทศศาสตร์ 1 อาคารนิเทศศาสตร์ 2 และ'''อาคารมงกุฎสมมติวงศ์''' เป็นอาคารสูง 12 ชั้น เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ทางการสื่อสารมวลชนที่ทันสมัย และ'''อาคารพินิตประชานาถ''' ซึ่งเป็นอาคารเรียนส่วนกลางของมหาวิทยาลัยซึ่งใช้ร่วมกับคณะนิติศาสตร์ |
||
== หน่วยงาน<ref name=":0">https://www.chula.ac.th/academic/faculty-of-communication-arts/</ref> == |
|||
== หน่วยงาน == |
|||
* ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography) |
* ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography) |
||
* ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ (Public Relations) |
* ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ (Public Relations) |
||
* ภาควิชาการสื่อสารมวลชน (Mass Communication) |
* ภาควิชาการสื่อสารมวลชน (Mass Communication) |
||
* ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts) |
* ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts) |
||
* ภาควิชาวารสารสนเทศ (Journalism) |
* ภาควิชาวารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism and New Media) |
||
== หลักสูตร<ref name=":0" /> == |
== หลักสูตร<ref name=":0"> https://www.commarts.chula.ac.th/th-th/academic.html </ref> == |
||
{| class="toccolours" width = 100% |
{| class="toccolours" width = 100% |
||
|- |
|- |
||
บรรทัด 38: | บรรทัด 47: | ||
| valign = "top" | |
| valign = "top" | |
||
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต''' |
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต''' |
||
* วารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism, Information, and New Media) |
* สาขาวิชาวารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism, Information, and New Media) |
||
⚫ | |||
* |
* สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ (Public Relations) |
||
* |
* สาขาวิชาการโฆษณาและการสื่อสารตราสินค้า (Advertising and Brand Communications) |
||
⚫ | |||
⚫ | |||
* การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Film and Still Photography) |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
* สาขาวิชาศิลปะภาพยนตร์ (Cinematic Arts) |
|||
⚫ | |||
* |
* สาขาวิชาการจัดการการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) (Communication Management) |
||
| valign = "top" | |
| valign = "top" | |
||
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต''' |
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต''' |
||
บรรทัด 52: | บรรทัด 61: | ||
* กลุ่มวิชาสื่อและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries) |
* กลุ่มวิชาสื่อและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries) |
||
* กลุ่มวิชาวาทนิเทศ (Speech Communication) |
* กลุ่มวิชาวาทนิเทศ (Speech Communication) |
||
* |
* สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (หลักสูตรนานาชาติ) (Strategic Communication Management) |
||
| valign = "top" | |
| valign = "top" | |
||
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต''' |
'''หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต''' |
||
* นิเทศศาสตร์ (Communication Arts) |
* สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (Communication Arts) |
||
|- |
|- |
||
|} |
|} |
||
== เพลงประจำคณะ == |
== เพลงประจำคณะ == |
||
เพลงนี้ครู[[แก้ว อัจฉริยะกุล]]และครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]]ร่วมกันประพันธ์ให้นิสิตสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเพลงประจำคณะ ตลอดจนประจำนักสื่อสารมวลชนและนักประชาสัมพันธ์โดยทั่วไปด้วย สองครูเพลงผู้เลื่องชื่อท่านนี้มิได้ประพันธ์เพลงร่วมกันตามลำพังมาเป็นระยะเวลานาน เพลงนี้จึงนับว่าเป็นผลงานการประพันธ์เพลงร่วมกันครั้งสำคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งประพันธ์เสร็จสิ้นเมื่อวันที่ |
เพลงนี้ ครู[[แก้ว อัจฉริยะกุล]] และครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]] ร่วมกันประพันธ์ให้นิสิตสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเพลงประจำคณะ ตลอดจนประจำนักสื่อสารมวลชนและนักประชาสัมพันธ์โดยทั่วไปด้วย สองครูเพลงผู้เลื่องชื่อท่านนี้มิได้ประพันธ์เพลงร่วมกันตามลำพังมาเป็นระยะเวลานาน เพลงนี้จึงนับว่าเป็นผลงานการประพันธ์เพลงร่วมกันครั้งสำคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งประพันธ์เสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2509 |
||
== บุคคลที่มีชื่อเสียง == |
== บุคคลที่มีชื่อเสียง == |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:56, 3 ธันวาคม 2567
Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University | |
ชื่อเดิม | แผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ |
---|---|
สถาปนา | 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 |
สังกัดการศึกษา | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
คณบดี | รศ.ดร.ปรีดา อัครจันทโชติ |
ที่อยู่ | |
สี | สีน้ำเงิน |
มาสคอต | สังข์แตร |
เว็บไซต์ | www |
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับผิดชอบเป็นหน่วยงานระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษาของรัฐ ที่ส่งเสริมดำเนินงานด้านการวิจัยและวิรัชกิจที่มีคุณภาพสูง ในแขนงด้านการสื่อสารมวลชน
ประวัติ
[แก้]จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนวิชาการหนังสือพิมพ์ขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2482 ซึ่งเป็นหลักสูตรในระดับอนุปริญญา สังกัดในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้มีการโอนการศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไปทำการสอนที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง โดยได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นการสิ้นสุดการสอนในสาขานิเทศศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่นั้นมา[1]
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดการเรียนการสอนในสาขาวิชานิเทศศาสตร์อีกครั้งในแผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ สังกัดอยู่กับคณะรัฐศาสตร์ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ดังนั้น จึงถือเอาวันที่ 5 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนาคณะนิเทศศาสตร์ หลักจากนั้น ในปี พ.ศ. 2509 ได้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "แผนกสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์" ซึ่งเป็นแผนกอิสระ มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีสีน้ำเงิน (Royal Blue) เป็นสีประจำแผนกอิสระฯ เนื่องจากสีน้ำเงินเป็นสีแทนน้ำหมึก และมีสัญลักษณ์เป็นสังข์แตร
ในเวลาต่อมาจึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "คณะนิเทศศาสตร์" เมื่อปี พ.ศ. 2517 นับเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์บำรุงสุข สีหอำไพ เป็นคณบดีคนแรก
ปัจจุบันคณะนิเทศศาสตร์ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท (ตรงข้ามกับคณะวิทยาศาสตร์) ในพื้นที่บริเวณเดียวกับคณะนิติศาสตร์ โดยมีอาคารทำการของคณะฯ 3 อาคาร คือ อาคารนิเทศศาสตร์ 1 อาคารนิเทศศาสตร์ 2 และอาคารมงกุฎสมมติวงศ์ เป็นอาคารสูง 12 ชั้น เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ทางการสื่อสารมวลชนที่ทันสมัย และอาคารพินิตประชานาถ ซึ่งเป็นอาคารเรียนส่วนกลางของมหาวิทยาลัยซึ่งใช้ร่วมกับคณะนิติศาสตร์
หน่วยงาน
[แก้]- ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography)
- ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
- ภาควิชาการสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
- ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts)
- ภาควิชาวารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism and New Media)
ระดับปริญญาตรี | ระดับปริญญาโท | ระดับปริญญาเอก |
---|---|---|
หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
|
หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
|
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต
|
เพลงประจำคณะ
[แก้]เพลงนี้ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล และครูเอื้อ สุนทรสนาน ร่วมกันประพันธ์ให้นิสิตสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเพลงประจำคณะ ตลอดจนประจำนักสื่อสารมวลชนและนักประชาสัมพันธ์โดยทั่วไปด้วย สองครูเพลงผู้เลื่องชื่อท่านนี้มิได้ประพันธ์เพลงร่วมกันตามลำพังมาเป็นระยะเวลานาน เพลงนี้จึงนับว่าเป็นผลงานการประพันธ์เพลงร่วมกันครั้งสำคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งประพันธ์เสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2509