ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดพังงา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต2
คะแนนเสียง48,522 (ภูมิใจไทย)
22,643 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (1)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดพังงา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพังงามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงวัฒนคดี (วัน พฤษะศรี)[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอทับปุด, อำเภอเมืองพังงา, อำเภอเกาะยาว และอำเภอตะกั่วทุ่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท้ายเหมือง, อำเภอกะปง, อำเภอตะกั่วป่า และอำเภอคุระบุรี
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอทับปุด, อำเภอเมืองพังงา, อำเภอเกาะยาว และอำเภอตะกั่วทุ่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท้ายเหมือง, อำเภอกะปง, อำเภอตะกั่วป่า และอำเภอคุระบุรี
2 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 หลวงวัฒนคดี (วัน พฤษะศรี) (เสียชีวิต)
นายโมรา ณ ถลาง (แทนหลวงวัฒนคดี (วัน พฤษะศรี))
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายโมรา ณ ถลาง
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายจำรูญ อันติมานนท์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสาคร กลิ่นผกา
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายโมรา ณ ถลาง

ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายปิฏิ เปลี่ยนสายสืบ
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสาคร กลิ่นผกา
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายสัมพันธ์ ณ ตะกั่วทุ่ง
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายบรม ตันเถียร
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
2 นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์ นายกฤษ ศรีฟ้า

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายอรรถพล ไตรศรี นายฉกาจ พัฒนกิจวิบูลย์

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]